Page 11 - พฤติกรรมมนุษย์และจริยธรรมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
P. 11

จริยธรรมข​ อง​องค์กร​ธุรกิจ 8-9

            2) 	ปัญหาก​ ารแ​ สวงหาค​ ่าต​ อบแทนใ​นร​ ะยะส​ ั้น ผูจ้​ ัดการโ​ดยท​ ั่วไปม​ ักจ​ ะใ​ช้เ​วลาใ​นก​ ารท​ ำงานก​ ับบ​ ริษัท​
มากว่า 20 – 25 ปี จึงไ​ดร้​ ับก​ ารแ​ ต่งต​ ั้งใ​หเ้​ป็นผ​ ูจ้​ ัดการ และเ​มื่อไ​ดร้​ ับต​ ำแหน่งผ​ ูจ้​ ัดการก​ ม็​ ีอายมุ​ ากแ​ ล้วแ​ ละม​ เี​วลาเ​หลือ​
ที่จ​ ะบ​ ริหาร​งานต​ ่อ​ไปอ​ ีกเ​พียง​ไม่​เกิน 8 – 10 ปี จึง​ทำให้ผ​ ู้จ​ ัดการ​ระดับ​สูง​คาด​หวังผ​ ล​ประโยชน์​ที่ต​ นเองจ​ ะ​ได้​รับจ​ าก​
การเ​ป็นผ​ ู้บ​ ริหารร​ ะดับส​ ูงภ​ ายในร​ ะยะเ​วลาอ​ ันส​ ั้น ทำให้ม​ ีก​ ารอ​ อกก​ ฎ ระเบียบเ​กี่ยวก​ ับค​ ่าต​ อบแทนท​ ี่ข​ ึ้นอ​ ยู่ก​ ับส​ ถานะ​
ของ​บริษัท​ใน​ระยะ​สั้นมากกว่า​จะ​คำนึง​ถึง​ผล​ประโยชน์​ใน​ระยะ​ยาว เช่น การ​กำหนด​ค่า​จ้าง เงิน​เดือน โบนัส และ​
ค่า​ตอบ​แทน​อื่นๆ เช่น ค่าร​ ักษาพ​ ยาบาล ค่า​ชดเชยก​ าร​ออก​จากง​ าน ที่​ขึ้น​อยู่​กับ​ลักษณะท​ างบ​ ัญชี​ที่ว​ ัด​จากก​ ารเ​พิ่ม​ขึ้น​
ของผ​ ล​ตอบแทน​ของ​หุ้น​เป็นร​ าย​ปี เป็นต้น

            3) 	ปัญหา​ด้าน​สารสนเทศ ปัญหา​ด้าน​สารสนเทศ​เป็น​ปัญหา​ที่​เกิด​จาก​ความ​ไม่​สมมาตร​ของ​ข้อมูล
​ภายใน​บริษัท เนื่องจาก​ผู้​จัดการ​จะ​เป็น​ผู้​ที่​สามารถ​เข้า​ถึง​ข้อมูล​ของ​บริษัท​ทั้ง​ข้อมูล​สถานะ​ของ​บริษัท แนว​โน้ม และ​
โอกาส​ของบ​ ริษัทได้ม​ ากกว่าผ​ ู้ถ​ ือห​ ุ้น หรือ​ที่ก​ ล่าว​ว่า ผู้​อยู่​ข้างใ​นย​ ่อม​รู้ด​ ีก​ ว่าผ​ ู้​อยู่​ข้างน​ อก เนื่องจาก​ผู้​จัดการเ​ป็นผ​ ู้รับ​
ผิด​ชอบ​ต่อ​การ​เก็บ​รวบรวม ประมวล​ข้อมูล​ทาง​บัญชี ตลอด​จน​ควบคุม​การ​จัด​ทำ​รายงาน​การ​บริหาร​งาน จึง​มี​ความ​
เป็น​ไป​ได้ที่​จะ​มี​การ​จัด​ทำ​รายงาน​ใน​ลักษณะ​ที่​มี​ความ​โน้ม​เอียง​ที่​จะ​มี​ราย​ได้​เพิ่ม​ขึ้น​เพื่อ​ให้​ได้​ค่า​ตอบแทน​จาก​การ​
บริหาร​งาน​เพิ่ม​ขึ้น​และ​เพื่อ​ความ​มั่นคง​ใน​การ​ทำงาน หรือ​ผู้​จัดการ​อาจ​จะ​ใช้​ข้อมูล​ภายใน​บริษัท​ไป​ใน​ทาง​แสวงหา​ผล​
ประโยชน์​ส่วน​ตน เช่น การ​เข้าไป​ซื้อ​หุ้น​เป็นการ​ส่วน​ตัว​ล่วง​หน้า​ก่อน​ที่​บริษัท​จะ​เข้าไป​ทำการ​ซื้อ​หุ้น​ใน​ตัว​เดียวกัน
เนื่องจาก​ผู้จ​ ัดการเ​ป็น​ผู้​รู้ด​ ีว​ ่าบ​ ริษัท​จะ​เข้าไปซ​ ื้อ​หุ้นใ​นก​ ิจการ​ใด เวลา​ใด เป็นจ​ ำนวนเ​ท่าใด ซึ่งจ​ ะม​ ี​ผลท​ ำให้ห​ ุ้นต​ ัวน​ ั้น​
มี​ราคาเ​พิ่มข​ ึ้น เป็นต้น

       3.2 	ทฤษฎีต​ ้นทุน​ธุรกรรม (Transaction Cost Theory)
       โรนลั ด์ โคส (Ronald Coase) นกั เ​ศรษฐศาสตรท​์ มี​่ ชี ือ่ เ​สยี งด​ า้ นก​ ารว​ เิ คราะหต​์ น้ ทนุ ธ​ รุ กรรมไ​ดพ​้ จิ ารณาบ​ ทบาท​
ของห​ น่วย​ธุรกิจว​ ่าเ​ป็น​สัญญาผ​ ูกพัน​ระหว่าง เจ้าของ ผู้จ​ ัดการ พนักงาน ผู้​ขาย สินค้า และล​ ูกค้า ดัง​นั้น​ประสิทธิภาพ​
ของ​หน่วย​ธุรกิจ​จะ​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​สามารถ​ของ​หน่วย​ธุรกิจ​ที่​จะ​พยายาม​ลด​ต้นทุน​ธุรกรรม​ให้​ต่ำ​สุด โดยที่​ต้นทุน​
ธุรกรรม​ดังก​ ล่าวป​ ระกอบ​ด้วย

            1) 	ต้นทุน​ด้าน​สารสนเทศ (information cost) หมายถ​ ึง​ ค่าใ​ช้​จ่าย​ที่​ใช้​จ่ายไ​ปใ​น​การห​ า​ข้อมูล​เกี่ยวก​ ับ​
ชนิดส​ ินค้าแ​ ละค​ ุณภาพข​ องส​ ินค้าท​ ี่ผ​ ู้บ​ ริโภคต​ ้องการ ตลอดจ​ นก​ ารไ​ด้ม​ าแ​ ละก​ ารม​ ีว​ ัตถุดิบท​ ี่เ​พียงพ​ อต​ ่อก​ ารผ​ ลิต การ​
ดึงดูด​แรงงาน การ​ฝึกอ​ บรม​พนักงาน การ​พัฒนา​ตรา​หรือย​ ี่ห้อ​ให้​เป็น​ที่ร​ ู้จัก เป็นต้น

            2) 	ต้น​ทุน​การ​ตัดสิน​ใจ (decision cost) หมาย​ถึง ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​เจรจา​ต่อ​รอง​หรือ​จัด​ทำ​ข้อ​
ตกลง​ต่างๆ เช่น การ​เจรจา​ต่อ​รอง​ระหว่าง​ผู้​จัดการ​กับ​แรงงาน​ที่​เรียก​ร้อง​ค่า​จ้าง​เพิ่ม​หรือ​นัด​หยุด​งาน การ​ทำ​สัญญา​
ระยะ​ยาวก​ ับ​สหภาพแรงงาน การเ​จรจา​ทำ​สัญญาข​ าย​สินค้า​ใน​ระยะ​ยาว เป็นต้น

            3) 	ต้นทุน​การ​บังคับ​ใช้ใ​ห้เ​ป็น​ไป​ตาม​สัญญา (enforcement cost) หมายถ​ ึง​ ค่า​ใช้​จ่ายท​ ี่​ต้องจ​ ่ายเ​พื่อ​ให​้
แน่ใจว​ ่า​ทุกฝ​ ่าย​ที่เ​กี่ยวข้อง​จะด​ ำเนิน​การ​ตาม​สัญญาท​ ี่​ให้​ไว้​ต่อ​กัน รวม​ถึงต​ ้นทุน​การใ​ห้​คำป​ รึกษา​แนะนำต​ ่างๆ

            ต้นทุน​ธุรกรรม​มี​ทั้ง​ต้นทุน​ที่​เปิด​เผย เช่น ค่า​ประกัน ค่า​ธรรมเนียม​ตาม​กฎหมาย ค่า​จัด​ประชุม และ​
อาจ​เป็นต้นท​ ุน​ธุรกรรมท​ ี่ไ​ม่​เปิด​เผย เช่น ค่า​เสียโ​อกาส​ที่​เกิด​จากค​ วาม​ล่าช้าแ​ ละก​ ารป​ ระวิง​เวลา เป็นต้น

       ตาม​ทฤษฎี​ของ​โคส กล่าว​ว่า​หน่วย​ธุรกิจ​ที่​จะ​อยู่​รอด​ได้​จำเป็น​ต้อง​มี​การ​ลด​ค่า​ต้นทุน​ธุรกรรม​ให้​ต่ำ​สุด ยก​
ตัวอย่างใ​นก​ ารก​ ่อสร้างอ​ าคารห​ นึ่งห​ ลัง หน่วยธ​ ุรกิจจ​ ะต​ ้องต​ ิดต่อท​ ั้ง ช่างก​ ่อสร้าง ช่างป​ ระปา ช่างไฟฟ​ ้า การข​ ออ​ นุญาต​
ใช้​ที่ดิน ฯลฯ ซึ่ง​ต้อง​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ติดต่อ​เป็น​ค่า​ธุรกรรม แต่​หน่วย​ธุรกิจ​อาจ​ใช้​วิธี​ลด​ค่า​ต้นทุน​ธุรกรรม​ให้​ต่ำ​
สุด​โดย​วิธี​การ​จัดจ้า​งบ​ริษัท​รับ​เหมา​ก่อสร้าง​มาส​ร้าง​และ​ติดต่อ​ให้​ทั้งหมด​ก็​จะ​ประหยัด​กว่า เป็นต้น ทฤษฎี​ของ​โคส
กล่าวว​ ่า การจ​ ัดสรร​ทรัพยากรจ​ ะ​มี​ประสิทธิภาพม​ าก​ที่สุด​หาก​มี​ค่าต​ ้นทุน​ธุรกรรม​ที่​ต่ำ​สุด​และม​ ีก​ ารก​ ำหนดก​ รรมสิทธิ​์
ใน​ทรัพย์สินท​ ี่ช​ ัดเจน​และ​สามารถ​นำ​มา​ซื้อข​ าย​แลกเ​ปลี่ยนไ​ด้​โดย​ไม่​เสีย​ค่า​แลกเ​ปลี่ยน

                              ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16