Page 38 - สังคมโลก
P. 38
3-36 สังคมโลก
บางส่วน หากมนุษย์มีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อกฎเกณฑ์ มนุษย์ย่อมสามารถทำความเข้าใจการเมือง และควบคุม
ผลของม ันให้ไปในทิศทางที่ต ้องการได้
ด้านท ่ี 2 “ป้ายบ อกท างห ลักข องการเมืองท ี่ช่วยให้ (แนวคิด) สัจนิยมท างการเมืองค้นหาหนทางผ ่านภูมิท ัศน์
ของการเมืองระหว่างประเทศคือมโนทัศน์เรื่องผลประโยชน์ที่ถ ูกนิยามในเชิงอำนาจ”43 ในด้านที่ส องนี้ เมื่อการเมือง
สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นกฎระเบียบบางอย่างที่สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์ ถ้าเช่นนั้นสิ่งใดคือแรงผลักดัน
ให้รัฐมีปฏิสัมพันธ์ทางด้านการเมืองระหว่างประเทศ มอร์เกนเทาจึงได้ให้ลักษณะด้านที่สองที่กล่าวถึงการทำความ
เข้าใจกฎหรือที่มาของปฏิสัมพันธ์นี้เกิดขึ้นจากผลประโยชน์ รัฐมีปฏิสัมพันธ์กันเพราะผลประโยชน์ และความหมาย
ของผลป ระโยชน์น ี้คืออ ำนาจ
ด้านท่ี 3 “(แนวคิด) สัจนิยมย อมรับว่าม โนทัศน์หลักเรื่องผลป ระโยชน์ที่นิยามด ้วยอำนาจ เป็น (การนิยาม)
ประเภทแ บบว ัตถุวิสัย แต่ท ั้งนี้ไม่ได้ห มายความว่าค วามห มายดังกล่าวจ ะต้องแน่นอนและเป็นเช่นนี้ตลอดไป”44 เมื่อ
เป้าหมายของรัฐทั้งหลายคือผลประโยชน์ที่ถูกนิยามในเชิงของอำนาจ แต่มโนทัศน์ (concept) เรื่องผลประโยชน์
หรืออำนาจนี้อาจถูกตีความแตกต่างกันได้ในบริบทที่ต่างกันตามยุคสมัย และตามสถานการณ์ทางการเมืองระหว่าง
ประเทศน ั้น ดังน ั้นถ ึงแม้โครงสร้าง (ผลประโยชน์ในเชิงอ ำนาจ) จะย ังอยู่ แต่เนื้อหา (ความหมาย) อาจเปลี่ยนแปลง
ไปม าได้
ด้านที่ 4 “(แนวคิด) สัจนิยมทางการเมืองตระหนักถึงความสำคัญของศีลธรรมที่มีผลต่อการกระทำทาง
การเมือง”45 แนวคิดส ัจนิยมท างการเมืองไม่ได้ป ฏิเสธว ่าแ รงผ ลักด ันท างศ ีลธ รรมไม่มีผ ลต ่อก ารเมืองร ะหว่างป ระเทศ
แตก่ ฎท างศ ีลธ รรมน ั้นเป็นแ รงผ ลักด ันร ะดับป ัจเจกบุคคล การกร ะท ำข องร ัฐไมอ่ าจจ ะก ระทำบ นแ รงผ ลักด ันแ บบเดียว
กับป ัจเจกช นได้ เพราะร ัฐจ ำเป็นต ้องค ำนึงถ ึงผ ลข องก ารกร ะท ำน ั้นว ่าจ ะม ีผ ลอย ่างไรต ่อส มาชิกข องร ัฐท ั้งหมด ในแ ง่น ี้
สิ่งที่รัฐกระทำจึงต ้องอ าศัย ความสุขุมรอบคอบ (prudence) มากกว่าแ รงผลักดันท างศ ีลธรรมแต่เพียงอ ย่างเดียว
ด้านท่ี 5 “(แนวคิด) สัจนิยมทางการเมืองปฏิเสธที่จะระบุว่าความต้องการทางศีลธรรมของชาติใดชาติหนึ่ง
เป็นสิ่งเดียวกับกฎทางศีลธรรมที่ควบคุมจักรวาล”46 ในทางการเมืองระหว่างประเทศแล้วเป็นสิ่งธรรมดาที่รัฐใด
รัฐหนึ่งจะอ้างความชอบธรรมเพื่อกระทำกิจบางอย่างบนหลักการทางศีลธรรมบางประการ ไม่ว่าจะเป็นเสรีภาพ
ความเสมอภาค ความยุติธรรม แนวคิดสัจนิยมทางการเมืองมองว่าการกระทำเหล่านี้เป็นเพียงการอ้างเหตุผลที่ดี
เพื่อการกระทำ โดยสาเหตุที่แท้จริงของการกระทำนั้นอยู่ที่อื่น เพียงแต่รัฐต้องอ้างเหตุผลดังกล่าวเพื่อให้การกระทำ
ของต นด ูม ีเหตุผลและลดก ารต ่อต้านในชุมชนก ารเมืองร ะหว่างประเทศ
และด้านสุดท้าย “ด้วยเหตุนี้ ความแตกต่างระหว่าง (แนวคิด) สัจนิยม กับตระกูลแนวคิดอื่นจึงเป็นจริง
และเด่นชัด”47 หลักการข้อสุดท้ายจึงเป็นข้อสรุปว่าด้วยหลักการทั้ง 5 ประการข้างต้น ซึ่งทำให้แนวคิดสัจนิยมทาง
การเมืองม ีความแ ตกต่างจ ากแ นวคิดแบบอื่น
บทบาทข องร ฐั ต ามแ นวคิดส จั นิยม
จากม มุ ม องเรือ่ งก ารเมอื งท เี่ ปน็ จ รงิ ในส มมตฐิ านแ ละห ลกั ก ารข องแ นวคดิ ส จั นยิ ม จะพ บว า่ บ ทบาทข องร ฐั ต าม
แนวคิดส ัจนิยมก ระทำเพื่อผ ลป ระโยชน์ข องร ัฐต นเป็นห ลัก และผ ลป ระโยชน์ท ี่ว ่าน ี้ถ ูกน ิยามข ึ้นจ ากอ ำนาจ อำนาจท ี่จ ะ
43 Ibid., p. 5. ข้อความในว งเล็บเป็นข องผู้เขียน
44 Ibid., p. 8. ข้อความในว งเล็บเป็นข องผู้เขียน
45 Ibid., p. 10. ข้อความในว งเล็บเป็นของผ ู้เขียน
46 Ibid., p. 11.
47 Ibid.
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช