Page 33 - สังคมโลก
P. 33

แนวคิดแ​ ละ​พัฒนาการข​ องร​ ัฐ 3-31

  กจิ กรรม 3.3.1
         แนวคดิ เ​รอื่ ง​รัฐใ​น​แนวคิดเ​สรนี ยิ ม​มกี​ แี่​ นวคิด และ​แตก​ต่าง​กนั ​อย่างไร

  แนวต​ อบ​กิจกรรม 3.3.1
         แนวคดิ เ​รื่อง​รฐั ​ในแ​ นวคิดเ​สรนี ิยมม​ ี 2 แนวคิด คอื แนวคิดเ​สรีนยิ ม​แบบ​ดั้งเดมิ และ​เสรนี ยิ มใ​หม่ โดย​

  ทัง้ ส​ อง​แบบแ​ ตกต​ ่าง​กนั ท​ ่บ​ี ทบาทข​ อง​รัฐ​ใน​ระดบั ​การแ​ ทรกแซง​กจิ กรรม​ของป​ จั เจก​ชน

เรือ่ งท​ ่ี 3.3.2
มารก์​ ซ​ ​ิสม์

       หาก​มุม​มอง​รัฐ​แบบ​เสรีนิยม​มอง​จาก​สิ่ง​ที่​ควร​จะ​เป็น​แล้ว แนวคิด​แบบ​มาร์​ก​ซิ​สม์​จะ​มี​มุม​มอง​ที่​แตก​ต่าง​
ออก​ไป​อย่าง​ตรง​กัน​ข้าม แนวคิด​แบบ​มาร์​ก​ซิ​สม์​เป็น​ปฏิกิริยา​ที่​เกิด​ขึ้น​จาก​พัฒนาการ​ของ​ระบบ​ทุนนิยม​ใน​ยุโรป​ราว
​คริสต์​ศตวรรษ​ที่ 17 เป็นต้น​มา ใน​เรื่อง​นี้​จะ​กล่าว​ถึง​ใน 4 ประเด็น​คือ 1. พื้น​ฐาน​แนว​คิด​มาร์​ก​ซิ​สม์ 2. มุม​มอง
จุด​มุ่ง​หมาย และบ​ ทบาท​ของร​ ัฐ รวม​ถึงค​ วามแ​ ตก​ต่างใ​น​คำอ​ ธิบายเ​รื่อง​รัฐ 3. การส​ ลายต​ ัว​ของ​รัฐ และ 4. ปฏิสัมพันธ์​
ระหว่าง​รัฐ​ตามแ​ นว​คิดม​ าร์​ก​ซิ​สม์

พ้นื ​ฐาน​แนวค​ ิด​มาร์​กซ​ ิ​สม์

       จากท​ ีไ่​ดก้​ ล่าวไ​ปแ​ ล้วว​ ่า แนวคิดแ​ บบเ​สรีนิยมแ​ ละก​ ารพ​ ัฒนาเ​ศรษฐกิจต​ ามแ​ นวคิดแ​ บบท​ ุนนิยมน​ ั้น ยิ่งพ​ ัฒนา​
ไปม​ ากเ​ทา่ ใด กลบั ย​ ิง่ ม​ ค​ี นจ​ ำนวนน​ อ้ ยท​ จี​่ ะม​ โ​ี อกาสไ​ดใ​้ ชเ​้ สรภี าพท​ างการเ​มอื ง ศาสนา หรอื เ​ศรษฐกจิ เ​พือ่ พ​ ฒั นาศ​ กั ยภาพ​
ของต​ นเ​ท่านั้น มเี​พียงค​ นส​ ่วนน​ ้อยท​ ีไ่​ดร้​ ับป​ ระโยชนจ์​ ากก​ ารพ​ ัฒนา เมื่อเ​ป็นเ​ช่นน​ ีร้​ ัฐจ​ ึงไ​ม่ใชก่​ รรมการท​ ีค่​ อยต​ ัดสินห​ รือ​
แก้ไข​ข้อ​พิพาท​ระหว่าง​ผู้​แข่งขัน​ที่​มี​อำนาจ​ใกล้​เคียง​กัน​บน​ข้อ​ตกลง​ร่วม​กัน​ระหว่าง​คู่​แข่งขัน แต่​กลับ​เป็น​กรรมการ​ที่​
ลำเอียงเ​ข้า​ข้าง​ฝ่าย​ใด​ฝ่าย​หนึ่ง​เสมอ ซึ่ง​ทำให้​การ​แข่งขันไ​ม่​เป็น​ธรรม​เพิ่ม​ขึ้น​ทุก​ขณะ ด้วย​ความ​คิด​ใน​ลักษณะ​นี้​ของ​
แนวคิด​แบบ​มาร์​ก​ซิ​สม์ รัฐ​จึง​กลาย​เป็น​เครื่อง​มือ​ของ​คน​กลุ่ม​ใด​กลุ่ม​หนึ่ง​เสมอ และ​คน​กลุ่ม​นี้​คือ “ชนชั้น​ปกครอง”
(ruling class)

       แนวคิด​แบบ​มาร์​ก​ซิ​สม์​เกิด​ขึ้น​โดย​นัก​คิด​ที่​โดด​เด่น​ที่สุด​คน​หนึ่ง​ใน​ประวัติศาสตร์​ความ​คิด​ทางการ​เมือง​คือ
คาร์ล มาร์ก​ ซ์ (Karl Marx) และ​ฟรี​ดริช เอง​เกลส์ (Friedrich Engels) ที่ไ​ด้​วางร​ ากฐานแ​ นวคิด​แบบม​ าร์ก​ ซ​ ิ​สม์ และ
​มี​ผู้​พัฒนา​ต่อ​เนื่อง​อย่าง​ไม่​ขาด​สาย ซึ่ง​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​การเมือง​ทั้ง​ภายใน​และ​สังคม​โลก​อย่าง​รุนแรง แนวคิด​แบบ​
มาร์​ก​ซิ​สม์​ใน​ยาม​ที่​ทรง​พลัง​ที่สุด​ทำให้​โลก​เกิด​สงคราม​เย็น และ​การ​แบ่ง​แยก​เป็น​ผ่าย​เสรีนิยม​และ​ฝ่าย​สังคมนิยม​
คอมมิวนิสต์ ใน​ปัจจุบัน​อิทธิพล​ทางการ​เมือง​ของ​แนวคิด​ดัง​กล่าว​อาจ​จะ​ลด​ลง แต่​อิทธิพล​ใน​ฐานะ​ความ​คิด​ทาง
การ​เมือง​ที่​โดด​เด่น​และ​เป็น​เอกลักษณ์​ยัง​คง​ดำรง​อยู่ นัก​คิด​ที่​โดด​เด่น​ใน​แนวคิด​นี้​ภาย​หลัง​มาร์​กซ์​และ​เอง​เกลส์​ก็​มี​
อย่าง​ต่อ​เนื่อง ไม่​ว่า​จะเ​ป็นวี ไอ ​เลนิ​น (V.I. Lenin) อัน​โตน​ ิโอ กรัม​ชี (Antonio Gramsci) และ​หลุยส์ อัล​ธุสแ​ ซร์
(Louis Althusser) นัก​คิด​มาร์​ก​ซิ​สม์​ตะวัน​ตก​เหล่า​นี้​ได้​ตีความ​งาน​เขียน​ขอ​งมาร์กซ์​และ​เอง​เกลส์​ไป​ใน​ทิศทาง​ต่างๆ

                              ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38