Page 30 - สังคมโลก
P. 30
3-28 สังคมโลก
ความน ำ
หลังจ ากท ี่ได้ก ล่าวถ ึงพ ัฒนาการข องร ัฐจ ากแ ง่ม ุมป ระวัติศาสตร์ และอ งค์ป ระกอบข องร ัฐจ ากน ักท ฤษฎีต ่างๆ
แล้ว ในส ่วนน ี้จะกล่าวถึงแ นวคิดข องน ักท ฤษฎีท ี่ม ีต่อร ัฐท ี่แตกต ่างก ัน โดยแบ่งอ อกเป็น 3 แนวคิดใหญ่คือ เสรีนิยม
มาร์กซ ิสม์ และสัจนิยม
แนวคิดทั้งสามต่างกันตรงที่สองแนวคิดแรกคือเสรีนิยมและมาร์กซิสม์เป็นแนวคิดที่มีขอบเขตกว้างขวาง
ไม่ใช่เฉพาะแต่ในเรื่องรัฐเท่านั้น โดยทั้งสองแ นวคิดได้กล่าวถ ึงเป้าห มายหรือชีวิตของมนุษย์ที่พึงปรารถนาเข้าไว้ด ้วย
ซึ่งกินความไปถึงก ารจ ัดระเบียบทางเศรษฐกิจ การเมือง หรือส ังคมเพื่อให้บ รรลุเป้าห มายนั้น ความคิดเรื่องร ัฐจ ึงเป็น
เพียงส่วนหนึ่งของแนวคิดทั้งสองข้างต้น ในขณะที่แนวคิดสัจนิยมเป็นแนวคิดในทางรัฐศาสตร์ที่เกิดขึ้นเพื่ออธิบาย
และทำนายบ ทบาทพฤติกรรมข องร ัฐว่าเกิดขึ้นบ นพื้นฐานข องส ิ่งใด และจะท ำอ ย่างไรเพื่อบรรลุเป้าหมายท ี่ต้องการ
ดว้ ยเหตนุ ีแ้ นวคิดเรือ่ งร ัฐท ัง้ 3 แบบจ ึงม คี วามแ ตกต า่ งก นั อ ย่างน ้อยใน 3 ด้านค ือ ดา้ นแ รก มมุ ม องเกีย่ วก ับร ัฐ
ด้านที่สอง จุดมุ่งหมายของรัฐ และด้านที่สาม บทบาทของรัฐ ในด้านแรก ในด้านมุมมองคือความแตกต่างระหว่าง
มุมมองในสิ่งที่ควรจะเป็น (what ought to be) และมองจากสิ่งที่เป็นจริง (what is) ด้วยความแตกต่างในด้าน
มุมมองนี้เองที่เป็นตัวกำหนดให้จุดมุ่งหมายและบทบาทของรัฐแตกต่างกันไปในแต่ละแนวคิด ดังที่จะแสดงให้เห็น
ต่อไ ป
เรอื่ งท ี่ 3.3.1
เสรีนิยม
ในเรื่องเสรีนิยมจะกล่าวถึงใน 3 ประเด็น คือ 1. พื้นฐานแ นวคิดแ บบเสรีนิยม 2. มุมมอง จุดม ุ่งหมายแ ละ
บทบาทท ี่มีต่อร ัฐ และ 3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐตามแนวคิดเสรีนิยม
พื้นฐ านแ นวคดิ แบบเสรนี ิยม
พื้นฐานแนวคิดแบบเสรีนิยมวางอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเหตุผล (rational
being) สามารถรู้คิดได้ด้วยตนเอง จึงสามารถที่จะตัดสินใจกิจการต่างๆ ได้ การมีเหตุผลของมนุษย์ทำให้มนุษย์มี
ความรับผ ิดช อบต่อต ัวเอง รวมถ ึงการออกก ฎกำหนดต นเองได้31 ยิ่งม นุษย์ต ัดสินใจได้ด้วยตนเองเท่าใด ธรรมชาติ
ในด ้านการม ีเหตุผลนี้จ ะยิ่งท ำให้ม นุษย์เป็นสิ่งม ีช ีวิตที่ดีย ิ่งขึ้นเท่านั้น เมื่อเป็นเช่นนี้การร วมต ัวขึ้นเป็นองค์การใดๆ ที่
อยู่นอกเหนือครอบครัวจึงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากความสมัครใจของมนุษย์ผู้เป็นเสรีนั้น รัฐหรือองค์การปกครองต่างๆ
จึงเป็นสิ่งที่ถูกจัดตั้งด้วยความยินยอม และต้องตอบสนองต่อความต้องการอันมีเหตุผลของสมาชิกที่ก่อตั้งองค์การ
เหล่านั้นขึ้น
31 Immanuel Kant. The Moral Law: Kant’s Groundwork of The Metaphysics of Morals, trans. H. J. Paton. London:
Hutchinson University Press, 1969, pp. 76-77.
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช