Page 31 - สังคมโลก
P. 31

แนวคิดแ​ ละพ​ ัฒนาการข​ องร​ ัฐ 3-29

มมุ ​มอง จดุ ​มุง่ ​หมายแ​ ละ​บทบาทท​ ​ีม่ ต​ี อ่ ​รฐั

       ด้วยเ​หตุผลท​ ีก่​ ล่าวม​ าข​ ้างต​ ้นน​ ี้ มุมม​ องข​ องร​ ัฐเ​สรีนิยมจ​ ึงม​ องร​ ัฐจ​ ากส​ ิ่งท​ ีค่​ วรจ​ ะเ​ป็น โดยม​ องว​ ่าร​ ัฐค​ วรจ​ ะเ​ป็น​
อย่างไร และค​ วรท​ ำ​หน้าที่​หรือ​มีบ​ ทบาท​อย่างไร เมื่อ​มอง​รัฐ​จากม​ ุ่งม​ อง​ที่​ควรจ​ ะ​เป็น​แล้ว คำถามท​ ี่​ว่าร​ ัฐ​เป็นอ​ ย่างไรจ​ ึง​
มี​ความ​สำคัญ​น้อย​กว่าว​ ่าร​ ัฐค​ วร​มี​จุด​มุ่งห​ มาย​และบ​ ทบาทอ​ ย่างไร

       ตาม​แนวคิด​เสรีนิยม​แล้ว รัฐ​ควร​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​ส่ง​เสริม​หรือ​รักษา​ไว้​ซึ่ง​เสรีภาพ​ใน​หมู่​สมาชิก​ของ​รัฐ​นั้น
นั่น​มา​จาก​ความ​เชื่อ​ที่​ว่า​หาก​มนุษย์​มี​เสรีภาพ​จะ​ทำให้​มนุษย์​สามารถ​พัฒนา​ศักยภาพ​ของ​ตน​ได้​อย่าง​เต็ม​ที่ ความ
​แตก​ต่าง​ใน​แนวคิด​เสรีนิยม​อยู่​ที่​รัฐ​ควร​มี​บทบาท​อย่างไร​ใน​การ​ส่ง​เสริม​ให้​เกิด​เสรีภาพ ทำให้​เกิด​การ​แบ่ง​แยก​เป็น​
แนวคิดเ​สรีนิยม​แบบ​ดั้งเดิม (Classical Liberalism) และ​แนวคิด​เสรีนิยม​ใหม่ (Neo-Liberalism)32

แนวคดิ เ​สรนี ยิ มแ​ บบ​ด้งั เดมิ

       แนวคิดเ​สรีนิยม​แบบด​ ั้งเดิมม​ อง​ว่านอ​ ก​เหนือ​จาก​จุดม​ ุ่งห​ มายก​ าร​ส่งเ​สริม​หรือร​ ักษาไ​ว้ซ​ ึ่ง​เสรีภาพแ​ ล้ว รัฐไ​ม่​
ควร​เข้าไปแ​ ทรกแซงก​ ิจกรรมท​ ี่​เอกชน​กระทำเ​องไ​ด้ รัฐค​ วร​ทำห​ น้าที่เ​ป็น​เพียงก​ รรมการร​ ะหว่าง​คู่​แข่งขันท​ ี่เ​ป็นเ​อกชน​
ด้วยก​ ัน กติกาก​ ็​เป็นส​ ิ่ง​ที่เ​อกชนร​ ่วมต​ กลงก​ ันข​ ึ้น​มา ระดับค​ วาม​มีเ​สรีภาพ​จะ​วัด​ได้จ​ าก​ว่า ยิ่ง​รัฐ​แทรกแซงน​ ้อย​เท่าใด
ยิ่งม​ ีเ​สรีภาพ​มากเ​ท่านั้น ความ​คิดใ​น​ลักษณะ​นี้​วางอ​ ยู่​บน​พื้น​ฐานว​ ่าป​ ัจเจกช​ น​หรือเ​อกชน​ทั้งห​ ลาย​ที่​เป็น​สมาชิกข​ องร​ ัฐ​
มี​สติ​รู้คิด​ได้​ด้วย​ตนเอง สามารถ​ตัดสิน​ใจ​การก​ระ​ทำ​ของ​ตนเอง​ได้​อย่าง​มี​เหตุผล หน้าที่​ของ​รัฐ​ถ้า​จะ​มี​ก็​เป็น​แต่​เพียง​
ควบคุม​ไม่​ให้​สมาชิก​ของ​รัฐ​ใช้​เสรีภาพ​ของ​ตน​ไป​ทำลาย​หรือ​แทรกแซง​เสรีภาพ​ของ​ผู้​อื่น แนวคิด​เสรีภาพ​ใน​ลักษณะ​
นี้​มี​ที่มาย​ าวนาน เกิด​ขึ้นพ​ ร้อม​กับก​ าร​พัฒนาร​ ะบบท​ ุนนิยม​ใน​ยุโรป​ตะวันต​ กในร​ าวค​ ริสต์​ศตวรรษ​ที่ 16-17 ที่ใ​ห้ค​ วาม​
สำคัญก​ ับ​การส​ ะสมท​ ุนแ​ ละ​ความม​ ั่งคั่ง ความค​ ิดแ​ บบเ​สรีนิยม​ที่ใ​ห้ค​ วาม​สำคัญ​กับ​เสรีภาพท​ างการ​เมืองแ​ ละ​ศาสนาจ​ ึง​
ควบคู่ไ​ป​กับ​ความค​ ิด​แบบ​ทุนนิยม​ที่ส​ นับสนุน​เสรีภาพท​ างเ​ศรษฐกิจ​ได้​อย่างล​ งตัว

       แนวคิด​เสรีนิยม​ใน​ลักษณะ​นี้​เป็น​ปฏิกิริยา​กับ​การ​ควบคุม​อย่าง​เด็ด​ขาด​ของ​โบสถ์​ใน​ยุค​กลาง​และ​รัฐ​
สมบูรณาญาสิทธิราชย์​ใน​ยุโรป​ใน​สมัย​ต่อ​มา การ​เรียก​ร้อง​เสรีภาพ​ต่างๆ จึง​นำ​มา​ซึ่ง​การ​ลด​ลง​ของ​อำนาจ​โบสถ์​และ​
การจ​ ำกัดอ​ ำนาจก​ ษัตริย์ ซึ่งเ​ห็นจ​ ากใ​นอ​ ังกฤษแ​ ละฝ​ รั่งเศส แตพ่​ ร้อมก​ ับค​ วามส​ ำเร็จน​ ี้ เมื่อร​ วมก​ ับก​ ารพ​ ัฒนาเ​ศรษฐกิจ​
แบบท​ ุนนิยม แทนที่จ​ ะ​ทำให้​ทุกค​ น​มี​โอกาสท​ ี่จ​ ะ​พัฒนา​ตนเองไ​ด้​มากข​ ึ้น​จากก​ ารม​ ี​เสรีภาพท​ ี่​เพิ่ม​ขึ้น กลับ​กลาย​เป็นว​ ่า​
มเ​ี พยี งบ​ างค​ นเ​ทา่ นัน้ ท​ มี​่ โ​ี อกาสม​ ากกวา่ ค​ นอ​ ืน่   เสรภี าพท​ างการเ​มอื งแ​ ละเ​ศรษฐกจิ ท​ เี​่ พิม่ ข​ ึน้ ก​ ลบั ส​ รา้ งค​ วามไ​มเ​่ สมอภ​ าค​
ใหเ​้ พิม่ ข​ ึน้ บางค​ นต​ อ้ งท​ ำงานอ​ ยา่ งห​ นกั เ​พยี งเ​พือ่ จ​ ะใ​หม​้ ช​ี วี ติ อ​ ยรู​่ อดไ​ปไ​ดว​้ นั ต​ อ่ ว​ นั ในข​ ณะท​ บี​่ างค​ นท​ ปี​่ รบั ต​ วั ไ​ดม​้ ากกวา่ ​
กับร​ ะบบเ​ศรษฐกิจแ​ บบท​ ุนนิยมก​ ลับ​สามารถม​ ีเ​วลาว​ ่างแ​ ละอ​ ยู่​อย่างส​ บายโ​ดย​แทบไ​ม่​ต้อง​ทำงาน ชั่วโมงก​ ารท​ ำงานท​ ี่​
หนัก การ​ใช้แ​ รงงาน​เด็ก สภาพก​ าร​ศึกษาท​ ี่แ​ ตก​ต่างก​ ัน​อย่าง​มาก รวม​ทั้งก​ ารท​ ำให้ม​ นุษย์ก​ ลายเ​ป็น​เพียงส​ ินค้า นำ​ไป​
สู่ค​ ำถาม​ที่ว​ ่า หาก​ปล่อย​ให้ส​ ภาพ​เช่น​นี้​ดำเนิน​ต่อไ​ป เสรีภาพท​ ี่​คนจ​ ะก​ ลาย​เป็น​วัตถุ​แบบ​นี้​เป็นส​ ิ่ง​ที่ถ​ ูก​ต้องแ​ ล้ว​หรือ​ไม่
นัก​คิด​ฝ่าย​เสรีนิยม​ใหม่​บาง​คน​จึง​เริ่ม​เรียก​ร้อง​ให้​รัฐ​เข้า​มา​มี​บทบาท​มาก​ยิ่ง​ขึ้น เพื่อ​ให้​ทุก​คน​สามารถ​ใช้​เสรีภาพ​ของ​
ตนใ​ น​การ​พัฒนา​ศักยภาพไ​ ด้

         32 Gerald Gaus and Shane D Courtland. “Liberalism”, The Stanford Encyclopedia of Philosophy (Winter 2010
Edition), Edward N. Zalta (ed.), forthcoming URL = <http://plato.stanford.edu/archives/win2010/entries/liberalism/>.

                              ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36