Page 36 - สังคมโลก
P. 36

3-34 สังคม​โลก

ปฏิสัมพนั ธ์ร​ ะหวา่ ง​รัฐ​ตามแ​ นว​คดิ ​มาร​ก์ ​ซ​ิสม์

       ปฏิสัมพันธ์​ระหว่าง​รัฐ​ตาม​แนวคิด​แบบ​มาร์​ก​ซิ​สม์ ใน​ช่วง​เวลา​ที่​สหภาพ​โซเวียต​อาศัย​แนว​คิด​มาร์​ก​ซิ​สม์​
ปกครอง​ประเทศ​อยู่​นั้น ได้​เกิด​การ​เผชิญ​หน้า​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​มี​แนวคิด​แบบ​เสรีนิยม​กับ​ประเทศ​ที่​มี​แนวคิด​แบบ​
มารก์​ ซ​ สิ​ ม์ การเ​ผชิญห​ น้าน​ ีเ้​กิดข​ ึ้นจ​ ากม​ ุมม​ องร​ ัฐข​ องแ​ นวค​ ิดม​ ารก์​ ซ​ สิ​ มเ์​องท​ ีม่​ องร​ ัฐว​ ่าเ​ป็นเ​ครื่องม​ ือข​ องช​ นชั้นป​ กครอง
เมื่อ​ประเทศส​ ังคมนิยม​ที่ทำการป​ ฏิวัติ​สำเร็จ แล้ว​เกิด​รัฐ​ใน​ช่วง​เวลา​เปลี่ยน​ผ่าน ก็​ย่อม​ต้องการใ​ห้​ประชาชน​ใน​รัฐ​อื่น
อ​ ยู่ใ​นก​ ารป​ กครองใ​นล​ ักษณะเ​ดียวก​ ลับต​ นด​ ้วย เพื่อท​ ุกค​ นส​ ามารถป​ ลดแอกจ​ ากช​ นชั้นป​ กครองใ​นท​ ี่สุด ด้วยค​ วามค​ ิด​
แบบน​ จี​้ งึ น​ ำม​ าส​ กู​่ ารเ​ผชญิ ห​ นา้ ก​ บั ป​ ระเทศท​ อี​่ าศยั แ​ นวคดิ แ​ บบเ​สรนี ยิ มใ​นก​ ารป​ กครองป​ ระเทศ  และน​ ำไ​ปส​ สู​่ งครามเ​ยน็
​ในท​ ี่สุด

  กิจกรรม 3.3.2
         การ​สลายต​ ัวข​ องร​ ฐั ​ใน​แนวค​ ดิ ม​ าร์​กซ​ ิ​สมเ์​กิด​ขึ้น​ไดอ​้ ยา่ งไร

  แนวต​ อบ​กิจกรรม 3.3.2
         การ​สลาย​ตวั ข​ อง​รฐั ใ​น​แนวค​ ดิ ม​ ารก​์ ​ซ​สิ ม​เ์ กดิ ข​ น้ึ เ​มอ่ื พ​ ลงั ก​ าร​ผลติ ไ​ดเ​้ จรญิ ไ​ปถ​ งึ ​จดุ ท​ ​ไ่ี มม่ ก​ี ารแ​ บง่ ​งาน​กนั ท​ ำ

  เกดิ ​สังคม​ท่ีป​ ราศจาก​ชนชน้ั จึง​ไมม่ ค​ี วามจ​ ำเป็นท​ ีจ​่ ะ​ต้อง​มร​ี ัฐใ​น​ฐานะ​เคร่ืองม​ ือข​ องช​ นชั้น​ปกครองอ​ ีก​ตอ่ ​ไป

เรอ่ื ง​ที่ 3.3.3
สัจนิยม

       ใน​เรื่อง​นี้​จะ​กล่าว​ถึง 3 ประเด็น​คือ 1. มุม​มอง​ของ​แนวคิด​สัจนิยม​จาก​ความ​คิด​เรื่อง​การเมือง​ที่​เป็น​จริง
(Realpolitik) 2. สมมติฐาน​และ​หลักก​ ารข​ อง​แนวคิด​สัจนิยม และ 3. บทบาทข​ อง​รัฐต​ าม​แนวคิด​นี้

การเมืองท​ เี่​ปน็ จ​ รงิ

       แนวค​ วามค​ ิดแ​ บบส​ ัจนิยมม​ มี​ ุมม​ องต​ ่อก​ ารเมืองโ​ดยใ​หค้​ วามส​ ำคัญก​ ับค​ วามเ​ป็น “จริง” โดยม​ องว​ ่าค​ วามเ​ป็น​
จริง​คือ​สิ่ง​ที่​เป็น​รูป​ธรรม​และ​จับ​ต้อง​ได้ ซึ่ง​ก็​คือ​เรื่อง​อำนาจ​และ​ผล​ประโยชน์ ดัง​จะ​เห็น​ได้​จาก​เมื่อ​นัก​คิด​ใน​แนวคิด​
สัจนิยมค​ น​สำคัญค​ นห​ นึ่ง​คือ เคน​เนท วอลซ์ (Kenneth N. Waltz) ที่​ได้​ให้ม​ ุม​มองต​ ่อ “การเมือง​ที่​เป็น​จริง” (Real-
politik) ไว้ว​ ่า “ผลป​ ระโยชน์ข​ องผ​ ู​้ปกครอง หรอื ​ภาย​หลงั (ท​่ีกลายเ​ป็น) รัฐ​นนั้ ทำให้​เกดิ ​การก​ระ​ทำ ความจ​ ำเปน็ ท​ าง​
นโยบายเ​กดิ ข​ นึ้ จ​ ากส​ ภาพก​ ารแ​ ขง่ ขนั ท​ ไ​ี่ รก​้ ฎร​ ะเบยี บร​ ะหวา่ งร​ ฐั การค​ ำนวณใ​นค​ วามจ​ ำเปน็ ท​ างน​ โยบายจ​ ะท​ ำใหส​้ ามารถ​
ค้น​พบ​นโยบาย​ท่ี​ตอบ​สนอง​ผล​ประโยชน์​ของ​รัฐ​ได้​ดี​ที่สุด และ​ความ​สำเร็จ​เป็น​บท​ทดสอบ​ที่​สำคัญ​ที่สุด​ของ​นโยบาย
และ​ความ​สำเรจ็ น​ ัน้ ถ​ ูก​นิยามข​ ้นึ ​จากก​ ารร​ ักษา​ไว้​หรอื ​ทำใหร​้ ฐั ต​ นเ​ขม้ แ​ ขง็ ​ขนึ้ ”39

         39 Kenneth N. Waltz. Theory of International Politics, Reading, Massachusetts: Addison-Wesley, 1979, p. 117.

                             ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41