Page 37 - สังคมโลก
P. 37
แนวคิดแ ละพัฒนาการของร ัฐ 3-35
การเมืองที่เป็นจริงในลักษณะนี้ได้ให้มุมมองต่อการเมืองว่า การกระทำของรัฐเกิดขึ้นจากผลประโยชน์ของ
รัฐหรือผู้ปกครองในร ัฐ ทั้งส ภาพก ารไร้กฎร ะเบียบในก ารเมืองระหว่างประเทศที่หมายถ ึงไม่มีองค์การหรือห น่วยงาน
ที่ใช้อำนาจบังคับให้ทุกรัฐทำตามข้อตกลงหรือระเบียบร่วมกันได้ ทำให้รัฐเกิดความจำเป็นที่จะต้องดำเนินนโยบาย
เพื่อร ักษาไว้ซ ึ่งผ ลป ระโยชน์ด ังก ล่าว โดยก ารค ำนวณแ ละต ระหนักในค วามไร้ร ะเบียบน ี้จ ะท ำให้ร ัฐส ามารถได้น โยบาย
ที่ดีที่สุดที่จะต อบสนองผลป ระโยชน์ของรัฐนั้นๆ และน โยบายที่ประสบผ ลสำเร็จก ็คือนโยบายที่ท ำให้รัฐดำรงอ ยู่รอด
ต่อไปห รือทำให้รัฐน ั้นเข้มแข็งข ึ้น
จากน ิยามข องก ารเมืองในล ักษณะน ีไ้ดใ้หค้ วามส ำคัญแ กร่ ัฐในฐ านะต ัวก ระทำ (actor) ซึ่งห มายถ ึงผ ูม้ บี ทบาท
ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ หากเปรียบเทียบการเมืองระหว่างประเทศเหมือนกับเกม รัฐจะอยู่ในฐานะ
ผู้เล่น ในเกมที่ไม่มีกรรมการ ผลประโยชน์ของรัฐเป็นจุดมุ่งหมายหลักที่จะกำหนดการกระทำของรัฐ ส่วนวิธีการที่
รัฐจ ะก ระทำขึ้นกับบ ริบทท ี่รัฐน ั้นๆ เผชิญอ ยู่ มุมม องในล ักษณะน ี้ย ังสามารถเห็นได้อ ีกเมื่อ อาร์ โอ เคียวเฮน (R.O.
Keohane) ไดก้ ล่าวถ ึงส มมติฐานข องแ นวคิดส ัจนิยม 3 ประการค ือ “1. ตัวแ สดงในโลกท างการเมืองค ือ สิ่งท ีม่ ขี อบเขต
ในการจัดองค์การชัดเจน (ซึ่งคือนครรัฐหรือรัฐสมัยใหม่) 2. การกระทำของรัฐสามารถอธิบายได้ด้วยเหตุผล และ
3. รัฐแสวงหาอำนาจและคำนวณผลประโยชน์ในแง่ของอำนาจซึ่งสัมพันธ์กับธรรมชาติของระบบการเมืองระหว่าง
ประเทศที่รัฐตนเผชิญ”40
สมมติฐานแ ละหลกั การของแ นวคดิ ส ัจนยิ ม
สมมติฐานทั้ง 3 ประการได้ให้ภาพการเมืองระหว่างประเทศใน 3 ด้าน คือ ด้านแรก ตัวแสดง ด้านที่สอง
วิธีการแ สดงออกห รือพฤติกรรม และด ้านท สี่ าม บริบทข องต ัวแ สดง ในด้านแรก การเป็นตัวแ สดงในการเมืองร ะหว่าง
ประเทศคือต้องเป็นอ งค์การที่มีอ ำนาจเหนือดินแดน ซึ่งในกรณีป ัจจุบันคือรัฐสมัยใหม่ ในด้านวิธีก ารแสดงออกห รือ
พฤติกรรม ตัวแ สดงนี้ไม่ได้ก ระทำต ามเหตุบังเอิญห รือถูกล ิขิตจากอ ำนาจภ ายนอก แต่กระทำอ ย่างม ีเหตุผล หมายถ ึง
การกระทำที่ไตร่ตรองเพื่อให้บรรลุผลตามที่ต้องการ (rational) ในด้านสุดท้าย บริบทเป็นสิ่งที่กำหนดว่าตัวแสดง
เหล่านี้จะก ำหนดเป้าหมายและให้เหตุผลอย่างไรเพื่อให้ตนบ รรลุถึงเป้าห มายท ี่ต ้องการ บริบทข องตัวแ สดงซ ึ่งเป็นร ัฐ
ย่อมต ้องเป็นการเมืองร ะหว่างป ระเทศที่แต่ละร ัฐม ีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
จากมุมมองต่อการเมืองที่เป็นจริงของวอลซ์ และสมมติฐาน 3 ประการของแนวคิดสัจนิยมของเคียวเฮน
จะทำให้ยิ่งเห็นภาพของแนวคิดสัจนิยมได้ชัดเจนขึ้นไปอีก เมื่อฮันส์ มอร์เกนเทา (Hans J. Morgenthau) ได้ให้
หลักก ารของแนวคิดสัจนิยมไว้ 6 ด้านค ือ41
ดา้ นท ี่ 1 “(แนวคิด) สัจนิยมท างการเมืองม ีค วามเชื่อว ่า การเมืองก ็เหมือนก ับส ังคมโดยภ าพร วมท ี่ถ ูกค วบคุม
ด้วยกฎเกณฑ์ที่เป็นวัตถุวิสัย และมีรากฐานจากธรรมชาติของมนุษย์”42 ความเชื่อว่าการเมืองมีกฎระเบียบควบคุม
อยู่นั้น ทำให้การเมืองไม่ใช่สิ่งลี้ลับที่จะเข้าถึงได้ด้วยญาณวิเศษหรือความสามารถส่วนบุคคล แต่เป็นกฎเกณฑ์
40 R. O. Keohane. International Institutions and State Power, London: Westview Press, 1989, pp. 38-39.
41 การให้ลักษณะของแนวคิดส ัจนิยมส ามารถดูได้จาก Christopher Pierson. The Modern State, 2nd ed. London: Routledge,
2004, pp. 132-135. ที่ได้ให้ลักษณะของแนวคิดสัจนิยมไว้ 8 ประการ ประกอบด้วย “1. รัฐเป็นตัวแสดงหลักในทางการเมืองระหว่างประเทศ
2. การกระทำของรัฐถือว่ามาจากตัวแสดงที่เป็นเอกภาพ 3. รัฐกระทำการอย่างมีเหตุผล 4. อนาธิปไตยในทางการเมืองระหว่างประเทศเป็น
แรงผ ลักดันหลักท ี่ม ีผลต ่อแ รงจูงใจแ ละการกระทำข องร ัฐ 5. รัฐในสภาพอนาธิปไตยจ ึงม ุ่งอยู่กับประเด็นเรื่องอ ำนาจแ ละความม ั่นคง 6. ศีลธ รรม
เป็นห ลักก ารท ีม่ คี วามส ำคัญแ ละไดร้ ับก ารย อมรับในก ารเมืองร ะหว่างป ระเทศ 7. รัฐต ่างๆ มักจ ะม แี ตค่ วามข ัดแ ย้ง แข่งขัน และไมร่ ่วมม ือก ัน แม้แต่
ในเรื่องผ ลประโยชน์ร ่วมก ัน 8. องค์การการเมืองระหว่างประเทศมีผลเพียงเล็กน้อยต่อค วามร่วมม ือกันระหว่างร ัฐ”
42 Hans J. Morgenthau, Politics Among Nations, 5th ed. Revised, New York: Alfred, 1978, p. 4. ข้อความในวงเล็บเป็น
ของผู้เขียน
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช