Page 32 - สังคมโลก
P. 32

3-30 สังคม​โลก

แนวคิดเ​สรีนยิ มใ​หม่

       รัฐต​ ามแ​ นวคิดเ​สรีนิยมใ​หมจ่​ ึงต​ ้องเ​ข้าไปแ​ ทรกแซงใ​นก​ ิจกรรมด​ ้านต​ ่างๆ ของเ​อกชนม​ ากข​ ึ้น ไมเ่​พียงแ​ ตท่​ ำตัว​
เป็น​กรรมการ​กลาง​เท่านั้น รัฐ​ต้อง​สร้าง​ระเบียบ​ควบคุม​ด้วย​ตนเอง ต้อง​เข้าไป​กำหนด​และ​ให้​บริการ​การ​ศึกษา​ขั้น​ต่ำ
การก​ ำหนดช​ ั่วโมงก​ ารท​ ำงาน ควบคุมก​ ิจการ​ที่อ​ าจม​ ีผ​ ล​ต่อส​ วัสดิภาพ​ของ​สมาชิกข​ อง​รัฐ เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์
เพื่อ​ลด​ความ​แตก​ต่าง​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​ลง หรือ​อย่าง​น้อย​เพื่อ​ให้​สมาชิก​ของ​รัฐ​ทุก​คน​ได้​รับ​มาตรฐาน​ขั้น​ต่ำ​ที่​
สามารถจ​ ะ​พัฒนา​ศักยภาพ​ของ​ตนเอง​ได้

       ด้วยแ​ นวคิดเ​สรีนิยมใ​หม่น​ ี้ ผลท​ ี่ต​ ามม​ าข​ องก​ ารเ​สนอใ​ห้ร​ ัฐม​ ีบ​ ทบาทท​ ี่เ​พิ่มข​ ึ้นก​ ลับน​ ำม​ าส​ ู่ป​ ัญหาใ​หม่ 2 ระดับ​
คือ ระดับ​แรก​เป็น​ระดับ​ปฏิบัติ​การ และ​ระดับ​ที่​สอง​เป็น​ระดับ​แนวคิด ใน​ระดับ​ปฏิบัติ​การ​นั้น แบ่ง​เป็น 2 ประเด็น​
คือ งบป​ ระมาณ​และร​ ะดับ​ของ​การ​แทรกแซง ใน​เรื่อง​งบป​ ระมาณ​นั้น เมื่อ​รัฐ​มี​บทบาทเ​พิ่ม​ขึ้น​ย่อม​หมาย​ถึง​การ​ต้องใ​ช้​
งบป​ ระมาณเ​พิ่มม​ ากข​ ึ้น เมื่อม​ กี​ ารร​ ับป​ ระกันก​ ารศ​ ึกษา ชั่วโมงก​ ารท​ ำงาน หรือก​ ารล​ งทุนใ​นก​ ิจการส​ าธารณูปโภคม​ ากข​ ึ้น
​เท่าใด งบ​ประมาณ​ที่​ต้อง​ใช้​ก็​ยิ่ง​มาก​ขึ้น​เท่านั้น หาก​งบ​ประมาณ​ของ​รัฐ​สูง​เกิน​กว่า​ความ​สามารถ​ที่​รัฐ​จะ​จัดหา​ได้ นั่น​
ย่อม​เท่ากับ​ว่า​รัฐ​จำเป็น​ที่​ต้อง​กู้​เงิน​และ​สร้าง​หนี้​ผูกพัน​หรือ​การนำ​เงิน​ใน​อนาคต​มา​ใช้ การ​อาศัย​เงิน​ใน​อนาคต​นั้น​รัฐ​
ย่อม​ไม่ไ​ด้​ฉันทานุมัติ​จาก​บุตรห​ ลาน​ของค​ นใน​ปัจจุบัน​ซึ่ง​ยัง​ไม่​ได้​เกิดข​ ึ้น การ​ใช้เ​งินใ​น​ลักษณะ​นี้​จะ​อาศัย​เหตุผล​ใดใ​น​
การนำเ​งินข​ องค​ น​ที่​ยังไ​ม่​เกิด​มา​ใช้​เพื่อร​ ับรองผ​ ลป​ ระโยชน์​ของ​คนใน​ปัจจุบัน

       ประเดน็ ท​ สี​่ อง ระดบั ข​ องก​ ารแ​ ทรกแซง หากร​ ฐั ต​ อ้ งการแ​ ทรกแซงเ​ขา้ ไปย​ งั ก​ จิ กรรมข​ องเ​อกชนเ​พือ่ ส​ รา้ งเ​งือ่ นไข​
ใหส้​ มาชกิ ข​ องร​ ฐั ส​ ามารถใ​ชเ้​สรีภาพใ​หเ้​กิดป​ ระโยชนแ์​ กต่​ นไ​ดม้​ ากข​ ึ้น ปญั หาท​ ีต่​ ามม​ าค​ อื ข​ อบเขตห​ รอื ร​ ะดบั แ​ คไ่​หนท​ ีร่​ ฐั ​
จะเ​ข้าไปแ​ ทรกแซงไ​ดโ้​ดยไ​มเ่​ป็นการล​ ะเมิดเ​สรีภาพข​ องส​ มาชิกใ​นร​ ัฐน​ ั้นๆ เพราะย​ ิ่งร​ ัฐเ​ข้าไปแ​ ทรกแซงม​ ากย​ ิ่งข​ ึ้นเ​ท่าใด
การ​มีแ​ นวโ​น้มท​ ี่​จะ​เกิด​รัฐเ​ผด็จการเ​บ็ดเสร็จ (Totalitarian State) ที่ท​ ำตัวเ​ป็น​รัฐ “แสนรู้” ซึ่ง​รู้​ว่าค​ วามต​ ้องการข​ อง​
คน​รัฐ​ตนค​ ืออ​ ะไร และท​ ำตัวเ​ป็น​ผู้ผ​ ลักด​ ัน​ให้​คนใน​รัฐ​ตน​มี “เสรีภาพ” ก็​จะ​ยิ่ง​เกิดข​ ึ้น​ตาม​ไป​ด้วย33

ปฏิสัมพนั ธ​ร์ ะหว่างร​ ัฐ​ตาม​แนวคดิ เ​สรนี ยิ ม

       เมื่อแ​ นวคิดเ​สรีนิยมว​ างอ​ ยู่บ​ นพ​ ื้นฐ​ านค​ วามเ​ชื่อเ​รื่องค​ วามม​ ีเ​หตุผลข​ องม​ นุษย์ และร​ ัฐเ​สรีนิยมม​ ีจ​ ุดม​ ุ่งห​ มาย​
เพื่อต​ อบ​สนองแ​ ละเ​อื้อ​ให้​เกิด​เสรีภาพ​ในห​ มู่​สมาชิก​ของ​รัฐ​ให้ม​ ากท​ ี่สุดเ​ท่า​ที่​เป็นไ​ป​ได้ อีก​ทั้ง​รัฐเ​สรีนิยมท​ ั้ง​หลายก​ ็​ตั้ง​
อยู่​บน​พื้น​ฐาน​เดียวกัน​นี้​ทั้ง​สิ้น ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​กัน​จึง​เป็น​สิ่ง​ที่​ตกลง​กัน​ได้​ด้วย​เหตุผล ความ​ขัด​แย้ง​ที่​เกิด​ขึ้น​
นั้น​เกิด​ขึ้น​จาก​ความ​เขลา หาก​ผู้​มี​อำนาจ​รัฐ​มี​โอกาส​และ​เวลา​ที่​จะ​เจรจา​กัน​ได้​ด้วย​เหตุผล สงคราม​หรือ​ความ​ขัด​แย้ง​
ต่างๆ ก็​จะ​หมดไ​ป34 องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​อย่างส​ ันนิบาตช​ าติ​และ​สหประชาชาติ​ก็​ก่อ​ตั้งข​ ึ้น​บน​ความค​ ิด​ใน​ลักษณะ​
เดียวกันน​ ี้

         33 ตัวอย่างข​ องร​ ัฐ “แสนรู้” ในล​ ักษณะน​ ี้ โปรดด​ ูไ​ด้จ​ ากร​ ัฐแ​ บบ​ รุสโ​ซท​ ี่เ​ริ่มต​ ้นจ​ ากค​ วามต​ ้องการม​ ีเ​สรีภาพ แต่ก​ ลับก​ ลายเ​ป็นร​ ัฐเ​ผด็จการ​
เบ็ดเสร็จ​ในท​ ี่สุด

         34 วิธีค​ ิดใ​นล​ ักษณะ​นี้ท​ ี่​โดดเ​ด่นท​ ี่สุดค​ ือง​ านเ​ขียน​เรื่อง สันติภาพถ​ าวร (Perpetual Peace) ขอ​งอิม​มานู​เอล คา​นท์

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37