Page 27 - สังคมโลก
P. 27

แนวคิดแ​ ละ​พัฒนาการ​ของร​ ัฐ 3-25

ประชากร

       ประชากร​อยู่​ใน​ฐานะ​ของ​หน่วย​ที่​เป็น​พื้น​ฐาน​ที่สุด​ของ​รัฐ เพราะ​รัฐ​ใน​ฐานะ​ของ​องค์การ​ทางการ​เมือง​นั้น จะ
ไ​มส่​ ามารถด​ ำรงอ​ ยูไ่​ดห้​ ากป​ ราศจากส​ มาชิก นอกจากน​ ีป้​ ระชากรย​ ังเ​ป็นแ​ หล่งท​ ี่มาข​ องร​ ายไ​ดด้​ ้วยก​ ารจ​ ่ายภ​ าษี กำลังค​ น​
จาก​การ​เกณฑ์​ทหาร​หรือ​รับ​ราชการ​ที่​ใช้​ใน​กิจกรรม​ของ​รัฐ แต่​ไม่ใช่​คน​ที่​อยู่​ใน​รัฐ​ทุก​คน​จะ​ถูก​นับ​ว่า​เป็น​ประชากร จะ​
ต้องเ​ปน็ ค​ นท​ ีอ่​ าศัยอ​ ยอู​่ ยา่ งถ​ าวรแ​ ละไ​ดร​้ ับก​ ารร​ บั รองโ​ดยร​ ฐั ว​ า่ เ​ป็นส​ มาชิกเ​ท่านัน้ จ​ ึงจ​ ะส​ ามารถเ​รยี กไ​ดว้​ ่าเ​ป็นป​ ระชากร​
ของร​ ัฐ​นั้น ด้วยเ​หตุ​นี้​นักท​ ่องเ​ที่ยว คน​ต่างด้าว ผู้​ใช้​แรงงานข​ ้าม​ชาติ จึงไ​ม่​นับ​รวม​อยู่​ใน​ประชากร

       ประชากร​ยัง​มี​ความ​สำคัญ​ใน​ฐานะ​ของ​การ​เป็น​หนึ่ง​ใน​ตัว​ชี้​วัด​พลัง​อำนาจ​ของ​รัฐ กล่าว​คือ​รัฐ​ใด​ที่​มี​คุณภาพ​
ของป​ ระชากรส​ ูงก​ ว่าย​ ่อมท​ ำให้ร​ ัฐน​ ั้นม​ ีอ​ ำนาจห​ รืออ​ ิทธิพลม​ ากกว่าร​ ัฐอ​ ื่น หากต​ ัวช​ ีว้​ ัดด​ ้านอ​ ื่นใ​กลเ้​คียงก​ ัน โดยค​ ุณภาพ​
ของ​ประชากร​สามารถ​พิจารณา​ได้​จาก​สภาพ​ความ​เป็น​อยู่ ฐานะ​ทาง​เศรษฐกิจ ระดับ​การ​ศึกษา ความ​เป็น​อัน​หนึ่ง​อัน​
เดียวกันข​ อง​ประชากรใ​น​รัฐ ฯลฯ

ดิน​แดน

       ดิน​แดน​มี​ความ​สำคัญ​ใน​แง่​ของ​การ​กำหนด​อาณาเขต​อำนาจ​ควบคุม​ของ​รัฐ​ว่า​สิ้น​สุด​ที่​ตำแหน่ง​ใด อำนาจ​
เหนือ​พื้นที่​นี้​เองท​ ี่​เป็น​สิ่งท​ ี่แ​ บ่งแ​ ยกร​ ะหว่าง​รัฐส​ มัยใ​หม่ใ​ห้แ​ ตก​ต่างจ​ ากอ​ าณาจักรโ​บราณ​ใน​ยุโรป​และเ​อเชีย​ที่​ให้ค​ วาม​
สำคัญ​กับ​อำนาจใ​นก​ าร​ควบคุมค​ นในส​ ังกัด มุม​มอง​ต่อ​ดินแ​ ดน​ใน​ลักษณะ​นี้​ของร​ ัฐ​สมัย​ใหม่ท​ ำให้เ​กิด​การท​ ำแ​ ผนที่​ที่​
มีร​ าย​ละเอียด​ชัดเจน มีก​ ารก​ ำหนด​หลัก​เขต​ที่ดิน (landmark) ที่​เด่น​ชัด โดยอ​ าศัยล​ ักษณะท​ างภ​ ูมิประเทศ​บางอ​ ย่าง​
เพื่อก​ ำหนด​เขตแดน เช่น สัน​ปันน​ ้ำ (divide) เป็นต้น ดินแ​ ดนใ​นร​ ัฐส​ มัย​ใหม่​ครอบคลุม​ทั้งพ​ ื้นด​ ิน ทั้ง​บนด​ ิน​และ​ใต้น​ ้ำ
พื้น​น้ำ แม้แต่อ​ ากาศท​ ี่​อยู่เ​หนือ​ดินแ​ ดน​ของ​รัฐน​ ั้น

       ดิน​แดน​ยัง​ความ​สำคัญ​ใน​แง่​ของ​การ​เป็น​ที่มา​ของ​พลัง​อำนาจ​ของ​รัฐ​จาก​ขนาด​ของ​พื้นที่​และ​ทรัพยากร หาก​
รัฐ​ใด​มี​อาณา​บริเวณ​กว้าง​ขวาง​และ​การ​มี​จัด​องค์การ​ที่​เข้ม​แข็ง สามารถ​ระดม​ทรัพยากร​ใน​พื้น​ที่​นั้นๆ ออก​มา​ใช้ได้
ทั้ง​พื้นที่​ที่​มี​ยัง​มี​ความ​อุดม​สมบูรณ์​เหมาะ​สม​ต่อ​การ​เพาะ​ปลูก ภูมิ​อากาศ​ที่​เอื้อ​ต่อ​การ​มี​ประชากร​หนา​แน่น หรือ​อุดม​
ด้วยแ​ ร่​ธาตุ ย่อม​ทำให้​รัฐเ​หล่า​นั้นม​ ี​อำนาจม​ ากกว่า​รัฐ​ที่ไ​ม่มี

       ในอ​ กี ด​ า้ นห​ นึง่ ดนิ แ​ ดนห​ รอื อ​ าณาเขตก​ เ​็ ปน็ ส​ าเหตข​ุ องก​ ารพ​ พิ าทก​ นั ร​ ะหวา่ งร​ ฐั ใ​นก​ ารแ​ ยง่ ช​ งิ พ​ ืน้ ทที​่ มี​่ ท​ี รพั ยากร​
หรือ​จุด​ยุทธศาสตร์ท​ าง​ทหาร เช่น เส้น​ทางการ​ออก​ทะเล หรือ​จุด​สำคัญ​ใน​การค​ วบคุมเ​ส้นท​ างการค​ ้า หรือ​หากก​ ารอ​ ้าง​
อำนาจ​เหนือพ​ ื้นที่ข​ องร​ ัฐ​ข้าง​เคียงท​ ับซ​ ้อนก​ ัน​ก็​มีแ​ นว​โน้ม​ที่จ​ ะ​เกิด​ความข​ ัด​แย้งท​ างการเ​มือง​ขึ้นร​ ะหว่างร​ ัฐ

รัฐบาล

       เมื่อม​ ี​ดินแ​ ดนแ​ ละ​ประชากร​ที่จ​ ะต​ ้อง​ควบคุม​ดูแล รัฐ​จำเป็นต​ ้องม​ ี​องค์การเ​ฉพาะท​ ี่​จะท​ ำ​หน้าที่​ควบคุม รักษา
ป้องกันส​ วัสดิภาพข​ องป​ ระชากร รักษาเ​สถียรภาพ​และ​พัฒนา​เศรษฐกิจ คอย​ดูแล​และ​ดึงดูดท​ รัพยากร​ใน​ดินแ​ ดนเ​พื่อ​
มา​ใช้​ประโยชน์​ให้​กับ​ประชากร​และ​กิจกรรม​ของ​รัฐ รวม​ถึง​ป้องกัน​การ​แทรกแซง​จาก​รัฐ​อื่น องค์การ​เฉพาะ​ที่​ว่า​นี้​คือ​
รัฐบาล

       พลัง​อำนาจ​ของ​รัฐ​ใดๆ จะ​แสดงออก​มา​ใน​รูป​ของ​ความ​สามารถ​ของ​รัฐบาล​ของ​รัฐ​นั้น​ใน​การ​กำหนด​นโยบาย
ต่อ​รอง กดดัน หรือด​ ำเนิน​การ​ด้วยว​ ิธีต​ ่างๆ เพื่อ​บรรลุเ​ป้า​หมายใ​น​การเมืองร​ ะหว่างป​ ระเทศ

                              ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32