Page 23 - สังคมโลก
P. 23
แนวคิดและพ ัฒนาการข องร ัฐ 3-21
จากการค รอบค รองที่ดิน ฐานันดร 3 ประเภทแรกคือผ ู้มีท ี่สิทธิในการค รอบค รองท ี่ดิน เพียงแต่ต ่างกันในข นาดที่ดิน
ที่ครอบครองและลักษณะสัญญาการถือครอง ในขณะที่สามัญชนอยู่ฐานะผู้ทำสัญญาเช่าที่ดินอีกทีหนึ่ง ไม่ได้มี
ที่ดินอ ยู่ในค รอบครอง การครอบค รองท ี่ดินจึงเป็นเครื่องแสดงส ถานะในช่วงเวลาน ั้น ดังได้กล่าวแล้วข ้างต ้นว่าที่ดิน
เป็นพื้นฐานของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเมืองของยุโรปตะวันตกในสมัยกลาง ความขัดแย้งกันในสมัยกลาง
ส่วนใหญ่จึงเป็นความขัดแย้งในการแย่งชิงที่ดินและผลประโยชน์ในที่ดินระหว่างฐานันดรที่มีที่ดินด้วยกัน เมื่อเกิด
สงครามอ ย่างต ่อเนื่อง เจ้าของท ี่ดินร ายเล็กร ายน ้อยท ีไ่มส่ ามารถร ักษาท ี่ดินข องต นไดก้ จ็ ะถ ูกผ นวกท ี่ดินเข้าก ับเจ้าของ
ที่ดินรายใหญ่ แนวโน้มด ังกล่าวท ำให้ผ ู้ที่ค รอบค รองท ี่ดินมีจ ำนวนล ดล ง แต่ป ริมาณที่ดินที่ถ ือครองกลับใหญ่ขึ้น จน
ในท ี่สุดเมื่อม ีผ ู้ถ ือค รองที่ดินก ว้างใหญ่ไพศาลจ นไม่มีอ ำนาจข องผ ู้อ ื่นแ ทรกแซงได้ จึงเกิดอ าณาจักรที่ร วมอ ำนาจเข้าส ู่
ศูนย์กลางเป็นครั้งแ รกในป ระวัติศาสตร์ และผู้ผ ูกขาดอำนาจที่ว่าน ี้คือก ษัตริย์ จุดนี้เองค ือการก ำเนิดขึ้นของ “รัฐส มัย
ใหม่” หรือ Modern State
หากจ ะเปรียบเทียบค วามแ ตกต ่างในด ้านค วามห มายข อง State แบบเดมิ และ Modern State จะพ บว า่ ป ัจจัย
ที่จะนำมาเปรียบเทียบคือประเด็นอำนาจเหนือพื้นที่ กล่าวคือในสมัยกลางที่อำนาจอยู่อย่างกระจัดกระจายแ ละไม่มี
ใครท ี่มีอำนาจเด็ดขาดเหนือพื้นที่ห นึ่ง แต่เมื่อ Modern State เกิดองค์การท างการเมืองร ูปแ บบเฉพาะท ี่ม ีอำนาจรวม
ศูนย์ ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งๆ จากพ ื้นฐานศัพท์ค ำน ี้ท ี่ม ีเงื่อนไข สถานะ หรือฐานันดรของต ัวบ ุคคลท ี่หลากหลาย ไม่ว ่า
จะเป็นก ษัตริย์ ขุนนาง พระ กลายม าเป็นเงื่อนไขหรือส ถานะที่ผ ูกเข้าก ับเจ้าของพ ื้นที่ข นาดใหญ่ห รือก ษัตริย์ “กษัตริย์”
จึงกลายเป็นม ีค วามหมายเท่ากับ State
จะเห็นได้อ ย่างชัดเจนว่าจ ุดเริ่มต้นของคำว ่า State มีน ัยมาจ ากส ถานะหรือทรัพย์สินที่มีป ระวัติความเป็นม า
สืบเนื่องได้ต ั้งแต่ส มัยก ลางในย ุโรปต ะวันต ก ในข ณะท ี่ค ำว ่า “รัฐ” มีป ระวัติค วามเป็นม าท ี่แ ตกต ่างก ันอ ย่างส ิ้นเชิง จาก
ที่มาในวรรณกรรมภาษาบ าลีแ ละสันสกฤต “รัฐ” หมายถึง แว่นแ คว้น บ้านเมือง (บาลี: รฏฺฐ สันสกฤต: ราษฺฏร)”24
การแ ปล “รัฐ” ว่าแ ว่นแคว้นหรือบ้านเมืองน ั้น มีนัยถึงอำนาจเหนือพ ื้นที่อยู่แล้ว ความค ิดเรื่อง Modern State กับ
ความเข้าใจเรื่องรัฐในบริบทสังคมไทยจึงสอดคล้องกันเป็นอย่างดี นอกจากนี้ในบริบทสังคมไทย ศาสนาจักรไม่เคย
ที่จะมีบทบาททางการเมืองหรือมีความสามารถที่จะกำหนดหรือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้เหมือนกับ
โบสถ์ค าทอลิกในสมัยกลาง ความเข้าใจเรื่องอำนาจท างการเมืองยิ่งม ีแนวโน้มท ี่จะเป็นแบบอ ำนาจท างโลก (secular)
มากกว่าการรวมอำนาจทั้งส องด้านเข้าด ้วยก ันเหมือนกับโบสถ์ในส มัยกลางของย ุโรปต ะวันต ก
ด้วยพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของยุโรปตะวันตกทำให้ความหมายของ State ผูกอยู่กับประเด็นสำคัญ
อย่างน้อย 2 ประเด็นค ือ ประเด็นแรก การแ บ่งแ ยกร ะหว่างอ ำนาจท างโลกและอำนาจท างธ รรม ประเด็นที่สอง ความ
คิดเรื่องอ ำนาจอ ธิปไตย (Sovereignty) หรือ ความค ิดเรื่องอ ำนาจท ี่เด็ดข าดเหนือพ ื้นที่โดยป ราศจากผ ู้แ ทรกแซง ด้วย
เหตุน ี้เมื่อเข้าใจค วามเป็นม าน ี้แ ล้ว ขอให้ต ระหนักถ ึงป ระเด็นท ั้งส องเสมอเมื่อพ ิจารณาเรื่อง State เนื่องจากป ระเด็นท ี่
ว่าน ี้ไม่มีน้ำหนักในค วามเข้าใจค วามห มายข อง “รัฐ” ในภ าษาไทย ดังนั้นหากก ล่าวถึง “รัฐ” ในป ัจจุบันจ ึงต ้องต ระหนัก
ว่าเป็นนัยของ State แบบต ะวันตกไม่ใช่ “รัฐ” ที่ปรากฏข ึ้นในวรรณกรรมอ ินเดียภาคภาษาไทย
24 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 กรุงเทพมหานคร ราชบัณฑิตยสถาน 2531 หน้า 689 จะเห็นได้ว่ารูปศัพท์ค ำว่า
รัฐนั้นและคำว่า “ราษฎร” มีที่มาจากคำเดียวกัน คำว่า “รัฐ” ที่มีความหมายว่าแว่นแคว้นนั้นมีอายุยาวนานมากดังจะเห็นได้จากข้อความใน
มหาเวสสันดรชาดก ที่ว่า “วิธมํ เทว เต รฏฺฐํ ความว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ แคว้นของพระองค์ถูกกำจัดเสียแล้ว” โปรดดู พระไตรปิฎก
เล่มท ี่ 28 พระส ุตต ันตปิฎก เล่มท ี่ 20 1058
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช