Page 20 - สังคมโลก
P. 20

3-18 สังคม​โลก

ต่อ​รอง​ระหว่าง​สยาม​และ​ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม​จึง​กระทำ​โดย​มี​โลก​ทัศน์​เรื่อง​พรมแดน​ที่​ชัดเจน​อัน​สืบ​เนื่องจาก​ความ​
คิดเ​รื่องอ​ ธิปไตย ด้วยเ​หตุ​นี้ร​ าช​อาณาจักรส​ ยามใ​น​ฐานะร​ ัฐ​สมัย​ใหม่​จึงเ​ป็น​ผลพ​ วง​ของ​ยุค​อาณานิคม​ด้วย

รฐั ​สมยั ใ​หม่ท​ ่เ​ี กิด​ขึ้นห​ ลงั ย​ คุ ​อาณานคิ ม

       ภาย​หลัง​สงครามโลก​ครั้ง​ที่ 2 ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม​ประสบ​กับ​ปัญหา​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​การเมือง​ภายใน
ทั้ง​ยัง​ต้อง​ทุ่มเท​ทรัพยากร​ไป​ซ่อมแซม​ความ​เสีย​หาย​ของ​ประเทศ​ภาย​หลัง​สงคราม อาณานิคม​ไม่​ได้​เป็น​แหล่ง​ราย​ได้​
ให้​กับ​เจ้า​อาณานิคม​อีก​ต่อ​ไป21 ประกอบ​กับ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​ขบวนการ​ชาตินิยม​ภายใน​ประเทศ​เหล่า​นั้น​ทำให้​ใน​
ที่สุด​ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม​ต้อง​ทยอย​ให้​เอกราช​กับ​ดิน​แดน​อาณานิคม​ดัง​กล่าว ดัง​จะ​เห็น​ได้​จาก​กรณี​ที่​อังกฤษ​ให้​
เอกราชก​ ับ​พม่าใ​น ค.ศ. 1948 มาเลเซีย (หรือส​ หพันธรัฐ​มลายา​ที่​รวม​สิงคโปร์​เข้าไป​ด้วย) ใน ค.ศ. 1957 ใน​กรณีข​ อง​
ฝรั่งเศส​ที่ใ​ห้​เอกราช​กับ​กัมพูชา​ใน ค.ศ. 1953 ลาวแ​ ละ​เวียดนามใ​น ค.ศ. 1954 ในก​ รณี​ของเ​นเธอร์แลนด์​ที่​ให้เ​อกราช​
กับอ​ ินโดนีเซีย​ใน ค.ศ. 1950

       รัฐ​ที่​เกิด​ขึ้น​ใหม่​เหล่า​นี้​มา​พร้อม​กับ​โครงสร้าง​การ​บริหาร​ราชการ​และ​สำนึก​เรื่อง​พื้นที่​ซึ่ง​เป็น​ผล​ของ​การ​เป็น​
อาณานิคม แต่​ภารกิจ​ใน​การ​สร้าง​ความ​เป็น​เอกภาพ​ภายใน​รัฐ​ก็​ยัง​เป็น​สิ่ง​ที่​ต้อง​กระทำ​กัน​ต่อ​ไป ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ปัญหา​
เรื่องค​ วามแ​ ตกต​ ่างท​ างช​ าติพันธุ์ ปัญหาเ​นื่องจากแ​ ผนที่ท​ ี่ท​ ำข​ ึ้นม​ ีก​ ารท​ ับซ​ ้อนก​ ันร​ ะหว่างค​ นห​ ลายช​ าติพันธุ์ห​ ลายภ​ าษา​
ในห​ ลายพ​ ื้นที่ เช่น ในก​ รณี​ของล​ าว มาเลเซีย เวียดนาม และอ​ ินโดนีเซีย หรือ​กรณี​ของช​ ุมชน​ชาว​จีนท​ ี่ม​ ีอ​ ยู่ใ​นแ​ ทบท​ ุก​
รัฐ โดยอ​ พยพเ​ข้าม​ าใ​นช​ ่วงท​ ี่ร​ ัฐน​ ั้นย​ ังเ​ป็นอ​ าณานิคม หรือก​ รณขี​ องช​ าวอ​ ินเดียท​ ี่อ​ พยพม​ ายังด​ ินแ​ ดนท​ ี่ถ​ ูกป​ กครองโ​ดย​
อังกฤษ ความแ​ ตก​ต่างท​ างเ​ชื้อ​ชาติ ภาษา วัฒนธรรม​นี้​จึง​ทำให้ภ​ ารกิจก​ ารส​ ร้าง​รัฐ​ยังต​ ้อง​ดำเนิน​ต่อ​ไป

  กจิ กรรม 3.1.2
         1.	 จง​อธิบาย​สภาพ​ทางการ​เมือง​ของ​ดิน​แดน​ต่างๆ นอก​ภูมิภาค​ยุโรป​ตะวัน​ตก ก่อน​การ​มา​ถึง​ของ

  เ​จ้าอ​ าณานิคมต​ ะวนั ​ตก
         2.	 จงว​ เิ คราะหว​์ า่ การเ​กดิ ข​ นึ้ ข​ องร​ ฐั ส​ มยั ใ​หมใ​่ นภ​ มู ภิ าคเ​อเชยี ต​ ะวนั อ​ อกเ​ฉยี งใ​ตเ​้ กดิ ข​ น้ึ จ​ ากป​ จั จยั ภ​ ายใน​

  หรอื ป​ จั จยั ภ​ ายนอกเ​ป็นห​ ลกั

  แนว​ตอบก​ จิ กรรม 3.1.2
         1.	 สภาพท​ างการ​เมอื งข​ อง​ดนิ แ​ ดนต​ ่างๆ นอก​ภมู ภิ าค​ยุโรป​ตะวนั ต​ ก กอ่ นก​ ารม​ าถ​ ึงข​ องเ​จา้ ​อาณานคิ ม​

  ตะวัน​ตกน้ัน อาณาจักร​หรือ​หน่วย​การ​ปกครอง​ใน​ดิน​แดน​เหล่า​นี้​ไม่​ได้​มี​สำนึก​ใน​เรื่อง​อำนาจ​เหนือ​พ้ืนท่ี​เหมือน​
  รัฐ​สมยั ​ใหม​่ใน​ยโุ รปต​ ะวัน​ตก ความเ​ข้าใจ​เรอื่ งอ​ ำนาจ​เปน็ ​อำนาจ​เหนอื ​คนใน​สังกดั

         2.	 การ​เกิด​ข้ึน​ของ​รัฐ​สมัย​ใหม่​ใน​ภูมิภาค​เอเชีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้​เกิด​ข้ึน​จาก​ปัจจัย​ภายนอก​เป็น​หลัก
  ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ความ​พยายาม​ใน​การ​ปรับ​ตัว​ให้​รอดพ้น​จาก​การ​เป็น​อาณานิคม​ใน​กรณี​ของ​สยาม หรือ​การ​ตก​เป็น​
  อาณานิคมข​ องช​ าต​ิตะวนั ​ตก​และไ​ด้​รบั เ​อกราชใ​นภ​ าย​หลังใ​น​กรณ​ีของร​ ฐั อ​ ่นื ๆ ท่ี​เหลอื ท​ ้ังหมด

         21 แนว​โน้มก​ าร​ลดล​ งข​ องร​ าย​ได้​และก​ าร​เพิ่มข​ ึ้นข​ อง​รายจ​ ่าย​ใน​การบ​ ริหารอ​ าณานิคม​เพิ่ม​ขึ้น​อย่างต​ ่อ​เนื่อง โปรด​ดู เรื่องเดียวกัน

                             ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25