Page 17 - สังคมโลก
P. 17

แนวคิดแ​ ละ​พัฒนาการ​ของ​รัฐ 3-15

ชาวต​ ะวันต​ กไ​ดด้​ ำเนินก​ ารย​ ึดค​ รองแ​ ละจ​ ัดต​ ั้งอ​ าณานิคมใ​นพ​ ื้นทีต่​ ่างๆ ทั่วโ​ลก ไมว่​ ่าจ​ ะเ​ป็นใ​นภ​ ูมิภาคแ​ อฟริกา อเมริกา
และ​เอเ​ชีย

       รูป​แบบ​การ​ปกครอง​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​ดิน​แดน​เหล่า​นี้​จึง​มี​ลักษณะ​แตก​ต่าง​ไป​จาก​รูป​แบบ​การ​ปกครอง​ของ​ชาว​
พื้นเ​มือง​เดิม กล่าว​คือ​แต่เ​ดิมค​ วาม​เข้าใจเ​รื่องด​ ิน​แดนไ​ม่ใช่​ประเด็นส​ ำคัญ​ของก​ าร​ปกครอง​ของ​ชาวพ​ ื้น​เมืองเ​นื่องจาก​
การ​มี​พื้นที่​อยู่ม​ าก แต่​มีป​ ระชากร​น้อย อำนาจ​เหนือ​คนใน​สังกัด​จึง​เป็นป​ ระเด็นส​ ำคัญข​ อง​อาณาจักรห​ รือ​การป​ กครอง​
ของ​ชาว​พื้น​เมือง​มากกว่า แต่​เมื่อ​ชาว​ยุโรป​ได้​มา​ถึง​พร้อม​กับ​ความ​คิด​เรื่อง​รัฐ​สมัย​ใหม่ การ​สร้าง​องค์การ​ที่​มี​อำนาจ​
เหนือ​พื้นที่​จึง​เกิด​ขึ้น โดย​การ​จัด​ตั้ง​รัฐบาล​หรือ​หน่วย​การ​ปกครอง​ทำการ​ควบคุม​คน​และ​ทรัพยากร​ใน​พื้น​ที่​นั้นๆ
แต่​องค์การ​เหล่า​นี้​ไม่​ได้​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​คนใน​พื้น​ที่​นั้นๆ กลับ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​ประเทศ​แม่​หรือ​ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม
กองทัพท​ ี่ป​ ระจำ​การอ​ ยู่​ใน​ดิน​แดนท​ ี่​ยึด​ครอง​จึง​มี​เพื่อ​แสวงหา​ผล​ประโยชน์​ใน​พื้นที่​แล้ว​ส่ง​ไป​ยัง​ประเทศ​แม่​ได้​อย่าง​มี​
ประสิทธิภาพ ทำใหอ้​ งค์การท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นน​ ีไ้​มอ่​ าจจ​ ะเ​รียกว​ ่าเ​ป็นร​ ัฐส​ มัยใ​หมไ่​ดอ้​ ย่างเ​ต็มร​ ูปแ​ บบ เพราะไ​ม่มอี​ ำนาจอ​ ธิปไตย​
เป็นข​ อง​ตนเอง เป็นเ​พียง​หน่วย​หนึ่งข​ อง​การ​ปกครอง​ของป​ ระเทศเ​จ้า​อาณานิคม​เท่านั้น

รฐั ส​ มยั ​ใหม่​ในย​ คุ ​หลงั ​อาณานคิ ม

       ภายห​ ลงั ก​ ารเ​กิดส​ งครามโลกค​ รั้งท​ สี​่ อง ประเทศต​ า่ งๆ ในย​ โุ รปป​ ระสบป​ ญั หาท​ จี​่ ะต​ อ้ งบ​ รู ณะป​ ระเทศจ​ ากค​ วาม​
เสียห​ ายใ​นส​ งคราม รวมท​ ั้งค​ ่าใ​ชจ้​ ่ายใ​นก​ ารร​ ักษาไ​วซ้​ ึ่งก​ องทัพเ​พื่อค​ วบคุมด​ ินแ​ ดนท​ ีเ่​ป็นอ​ าณานิคมซ​ ึ่งเ​พิ่มส​ ูงข​ ึ้นเ​รื่อยๆ
รวม​ถึง​ผล​ประโยชน์​ที่​ได้​จาก​ประเทศ​อาณานิคม​เริ่ม​ลด​ลง ประกอบ​กับ​การ​เรียก​ร้อง​เอกราช​ของ​ขบวนการ​ชาตินิยม​
ใน​ดิน​แดน​ที่​เป็น​อาณานิคม ทำให้​ใน​ที่สุด​ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม​ต้อง​ยอม​มอบ​เอกราช​ให้​กับ​คนใน​พื้นที่​ต่างๆ ผล​ที่​
ตามม​ าก​ ค็​ ือก​ ารเ​กิดข​ ึ้นข​ องร​ ัฐบาลท​ ีม่​ อี​ ำนาจเ​หนือด​ ินแ​ ดน เหนือป​ ระชาชนแ​ ละท​ รัพยากรใ​นพ​ ื้นทีน่​ ั้น รวมถ​ ึงม​ อี​ ธิปไตย​
เป็น​ของ​ตนเอง​และ​รับ​ผิด​ชอบ​แต่​เฉพาะ​คนใน​สังกัด​ของ​ตน ไม่​ได้​เป็น​เพียง​หน่วย​การ​ปกครอง​ของ​ประเทศ​แม่​
เจ้า​อาณานิคม​อีก​ต่อ​ไป รัฐ​สมัย​ใหม่​ที่​สมบูรณ์​หรือ​เต็ม​รูป​แบบ​จึง​เกิด​ขึ้น แต่​ความ​ท้าทาย​ก็​เกิด​ตาม​มา​ด้วย​อัน​เนื่อง​
มา​จาก​กำหนด​พื้นที่​ของ​รัฐ​ต่างๆ เหล่า​นั้น​เกิด​ขึ้น​จาก​ความ​ประสงค์​ของ​ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม โดย​ไม่​คำนึง​ถึง​คน​ที่​
อยู่​ใน​พื้นที่​แต่​อย่าง​ใด ความ​ขัด​แย้ง​ของ​คน​ที่​มี​ชาติพันธุ์​เดียวกัน​แต่​แยก​กลาย​เป็น​สอง​ประเทศ​หรือ​สอง​รัฐ หรือ​
การนำ​คน​จาก​ภูมิภาค​อื่น​เข้า​มายัง​พื้นที่​ต่างๆ ใน​สมัย​อาณานิคม ทำให้​รัฐ​สมัย​ใหม่​ที่​เกิด​ขึ้น​ต้อง​เผชิญ​กับ​ปัญหา​
ต่อไ​ ป

กรณ​ศี กึ ษา​รฐั ส​ มยั ใ​หม่ใ​น​ภมู ภิ าคเ​อเชียต​ ะวนั อ​ อกเ​ฉียงใ​ต้

       เมื่อไ​ดก้​ ล่าวถ​ ึงร​ ัฐส​ มัยใ​หมใ่​นย​ ุคอ​ าณานิคมแ​ ละห​ ลังอ​ าณานิคมแ​ ล้ว ในท​ ีน่​ ีจ้​ ะก​ ล่าวถ​ ึงก​ รณีศ​ ึกษาร​ ัฐส​ มัยใ​หม​่
ใน​ภูมิภาค​เอเชีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้​โดย​แบ่ง​ออก​เป็น 3 เรื่อง​คือ 1. เหตุการณ์​ก่อน​การ​มา​ถึง​ของ​ชาติ​ตะวัน​ตก​ที่​เป็น​
สาเหตุท​ ี่​ทำให้​เกิดร​ ัฐส​ มัย​ใหม่​ใน​ภูมิภาค 2. รัฐส​ มัย​ใหม่ท​ ี่​เกิดข​ ึ้น​ใน​ยุค​อาณานิคม และ 3. รัฐ​สมัย​ใหม่ท​ ี่​เกิดข​ ึ้น​หลัง​
ยุคอ​ าณานิคม

       เหตุการณ์ก​ ่อนก​ ารม​ าถ​ ึงข​ องช​ าติต​ ะวันต​ กน​ ั้น ดินแ​ ดนใ​นภ​ ูมิภาคน​ ี้ม​ ีก​ ารป​ กครองใ​นร​ ูปแ​ บบข​ องต​ นเอง ไม่ว​ ่า​
จะเ​ปน็ อ​ าณาจกั รท​ อี​่ ยใู​่ นด​ นิ แ​ ดนท​ เี​่ ปน็ พ​ มา่ เชน่ อาณาจกั รต​ องอ​ ู หรอื อ​ าณาจกั รห​ งส​ าวด​ ี หรอื ด​ นิ แ​ ดนท​ เี​่ ปน็ ป​ ระเทศไทย
เช่น อาณาจักร​อยุธยา หรือด​ ินแ​ ดน​ที่เ​ป็น​ประเทศล​ าว เช่น อาณาจักร​ล้าน​ช้าง หรือ​ดินแ​ ดน​ที่เ​ป็นป​ ระเทศ​กัมพูชา เช่น
อาณาจักร​พระนคร หรือ​ส่วน​ที่​เป็น​ดิน​แดน​ใน​คาบสมุทร​มลายู​ที่​เป็น​ประเทศ​มาเลเซีย​และ​สิงคโปร์​ใน​ปัจจุบัน หรือ
ด​ ิน​แดนใ​น​หมู่​เกาะอ​ ินโดนีเซียซ​ ึ่ง​แยกอ​ อกเ​ป็น​ดินแ​ ดน​ของส​ ุลต่านต​ ่างๆ

                              ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22