Page 14 - สังคมโลก
P. 14

3-12 สังคม​โลก
ส​ งคราม8 ทำให้เ​กิดค​ วามห​ ายนะก​ ับท​ ุกฝ​ ่าย​ที่เ​กี่ยวข้อง สงคราม​ซึ่ง​แต่​เดิม​เริ่ม​ต้น​ด้วย​ความ​ขัด​แย้งท​ างศ​ าสนา​ระหว่าง​
ฝ่าย​คาทอลิก​และ​โปรเตสแตนท์ กลาย​เป็น​ความ​ขัด​แย้ง​ทางการ​เมือง​ระหว่าง​ผู้​ปกครอง​ใน​รัฐ​ต่างๆ ความ​หายนะ​ที่​
เกิดข​ ึ้น​นำไ​ปส​ ู่ข​ ้อต​ กลง​สันติภาพ​ที่​สำคัญอ​ ย่างย​ ิ่ง​ใน​ประวัติศาสตร์​สังคม​โลก คือ​การต​ กลง​สันติ​ภาพแ​ ห่งเ​วสฟาเ​ลีย

       การ​ตกลง​สนั ตภ​ิ าพ​แห่งเ​วสตฟ์ าเ​ลยี ​มีผ​ ล​ต่อก​ าร​เกิด​ขึ้น​ของ​รัฐ​สมัยใ​หม่​ดังนี้ สนธิ​สัญญา​ประกอบ​การต​ กลง​
ดังก​ ล่าว​มีเ​นื้อหา​ให้การ​รองรับ​อำนาจ​ของ​ผู้ป​ กครองใ​น​รัฐ​ต่างๆ โดย​ให้​สามารถน​ ับถือ​ศาสนาไ​ด้​โดย​อิสระ ผู้​ปกครอง​
จากร​ ฐั อ​ ืน่ ไ​มส​่ ามารถอ​ าศยั ข​ อ้ อ​ า้ งท​ างศ​ าสนาม​ าเ​ปน็ ส​ าเหตท​ุ างการเ​มอื งห​ รอื ก​ ารท​ หารเ​พือ่ เ​ขา้ แ​ ทรกแซงก​ ารน​ บั ถอื ศ​ าสนา​
ของผ​ ู้ป​ กครอง​ทั้งห​ ลายไ​ด้​อีกต​ ่อไ​ป9 การ​ไม่แ​ ทรกแซงก​ าร​นับถือ​ศาสนา​นี้เ​อง​ที่เ​ป็นจ​ ุด​เริ่ม​ต้นข​ องก​ าร​ยอมรับ​ความค​ ิด​
เรื่องอ​ ำนาจอ​ ธิปไตย (sovereignty) และ​หลักก​ ารไ​ม่แ​ ทรกแซงก​ ิจการ​ภายใน (non-intervention doctrine) ซึ่ง​กัน​
และก​ ัน อำนาจ​ของผ​ ู้​ปกครองใ​น​แต่ละร​ ัฐ​จึงไ​ด้ร​ ับ​การค​ ้ำ​ประกัน การไ​ม่แ​ ทรกแซงด​ ังก​ ล่าว​จึงม​ าพ​ ร้อม​กับ​การก​ ำหนด​
พื้นที่​ซึ่ง​กัน​และ​กัน​ด้วย​ว่า เมือง​ใด​พื้นที่​ใด​อยู่​ใต้​เขต​ปกครอง​หรือ​อำนาจ​ของ​รัฐ​ไหน​ไป​โดย​อัตโนมัติ พื้นที่ ประชากร
หรือ​ผล​ประโยชน์ท​ ี่​เกิด​ภายใน​พื้น​ที่​นั้นๆ ต้อง​เป็น​ของ​รัฐ​นั้นๆ ไม่​อาจ​ที่​จะ​มี​รัฐ​หรือ​ผู้​ปกครองอ​ ื่น​มา​แทรกแซงไ​ด้​อีก
รฐั ส​ มยั ใ​หมท​่ มี​่ ค​ี วามค​ ดิ อ​ ยบู​่ นอ​ ำนาจเ​หนอื พ​ ืน้ ทจี​่ งึ เ​ริม่ ต​ น้ ต​ ัง้ แตน​่ ัน้ เ​ปน็ ตน้ ม​ า10 และน​ เี​้ องจ​ งึ เ​ปน็ จ​ ดุ เ​ริม่ ต​ น้ ข​ องก​ ารเมอื ง​
ระหว่างป​ ระเทศ​เพราะ​มี​ตัว​ประเทศ​หรือร​ ัฐท​ ี่​ตกลง​ทำส​ ัญญา​ระหว่างก​ ัน​แล้ว11 และน​ ี่เองค​ ือ​จุดเ​ริ่ม​ต้นข​ องก​ าร​เกิด​ขึ้น​
ของ​แผนที่​ทางการ​เมืองท​ ี่เ​ปลี่ยนแปลง​การ​รับ​รู้ท​ างการเ​มือง​ของ​คน และโ​ลก​จะไ​ม่​เหมือน​เดิมอ​ ีก​ต่อ​ไป

       ภายห​ ลังก​ ารต​ กลงส​ ันติภ​ าพแ​ ห่งเ​วสต์ฟาเ​ลียแ​ ล้ว จะพ​ บว​ ่าแ​ ผนที่โ​ลกซ​ ึ่งเ​ดิมเ​ป็นแ​ ผนที่ท​ างก​ ายภาพท​ ี่บ​ อกว​ ่า​
พื้นทีน่​ ั้นม​ ลี​ ักษณะท​ างภ​ ูมิประเทศเ​ป็นอ​ ย่างไร โดยอ​ าศัยส​ เี​ป็นต​ ัวจ​ ำแนกว​ ่าพ​ ื้นทีต่​ ่างๆ มลี​ ักษณะท​ างก​ ายภาพเ​ป็นพ​ ื้นที​่
ราบห​ รือ​ที่ราบสูง เป็นภ​ ูเขา ทะเล​ทราย ทะเล หรือมหาสมุทร ฯลฯ ดัง​จะ​เห็น​ได้​จากภ​ าพท​ ี่ 3.2 ต่อ​ไป​นี้

                                 ภาพ​ที่ 3.2 แสดง​แผนท​่โี ลกท​ าง​กายภาพ

ทม่ี า:	 http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/d8/Winkel-tripel-projection.jpg
         8 ราย​ละเอียด​ของ​สงคราม โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​บทบาท​ของ​สวีเดน​ใน​การ​เข้า​สู่​สงคราม สามารถ​ดู​ได้​จาก The Thirty Years’ War,

2nd edition. Geoffrey Parker. London: Routledge, 2006, pp. 78-137. หรือ​ฉบับ​ภาษาไ​ทยค​ ือ เจ. เอ็ม ทอม​ป์ส​ ัน ประวัติศาสตร์ย​ ุโรป ค.ศ.
1494-1789 หน้า 136-140

         9 Treaty of Mûnster 1648, article XXVIII, XLIX.
         10 Ibid., article LXXIII, LXXVI.
         11 Christopher W. Morris, “The Modern State,” in Handbook of Political Theory, ed. Gerald F. Gaus and Chandran
Kukathas. London: Sage, 2004, p. 197.

                             ลขิ สิทธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19