Page 9 - สังคมโลก
P. 9

แนวคิด​และ​พัฒนาการข​ อง​รัฐ 3-7

       โบสถ์​นอกจาก​จะ​มี​โครงสร้าง​การ​บังคับ​บัญชา​ที่​เข้ม​แข็ง​และ​มี​การ​ครอบคลุม​ทุก​พื้นที่​แล้ว โบสถ์​ยัง​สามารถ​
สร้าง​ราย​ได้แ​ ละค​ วามม​ ั่น​คั่ง เช่น ราย​ได้ที่​ได้​จาก​การบ​ ริจาค​ซึ่งเ​รียกเ​ป็นร​ าย​ปีจ​ ากพ​ ระ​มหาก​ ษัตริย์แ​ ละ​ขุนนางท​ ี่เ​รียก​
ว่า “Benefice”1 และร​ ายไ​ด้อ​ ื่นท​ ี่มาจ​ ากค​ วามศ​ รัทธาข​ องศ​ าสนิก​ ชน ในก​ ารใ​ห้ศ​ ีล ให้พ​ ร (blessing) ทั้งร​ ายไ​ด้ด​ ังก​ ล่าว​
ยัง​ไม่​ต้อง​เสีย​ภาษี​ให้​กับ​เจ้าของ​ที่ดิน​ใน​พื้นที่2 และ​ใน​บาง​ราย​พระ​สังฆราช​หรือ​มุข​นายก​ก็​อยู่​ใน​ฐานะ​เจ้า​ที่ดิน​ด้วย
​เสีย​เอง ราย​ได้​จึง​มา​จาก​ทั้ง​กิจการ​ของ​โบสถ์​และ​ราย​ได้​จาก​ที่ดิน ความ​มั่งคั่ง​นี้​เอง​ที่​ทำให้​เจ้า​ที่ดิน​เป็น​นักบวช​ซึ่ง​
สามารถ​จัด​สร้าง​กองทัพไ​ว้​ดูแล​ที่ดิน​ของต​ นเอง​ได้

       ประการ​ต่อ​มา การ​ผูกขาด​การ​ตีความ​พระ​คัมภีร์​ไบเบิล ก่อน​หน้า​การ​แปล​และ​ตี​พิมพ์​พระ​คัมภีร์​ไบเบิล​เป็น​
ภาษาถ​ ิ่นข​ องย​ ุโรปน​ ั้น พระค​ ัมภีร์ถ​ ูกบ​ ันทึกล​ งด​ ้วยล​ ายมือแ​ ละเ​ป็นภ​ าษาล​ ะติน มแี​ ต่บ​ าทหลวงห​ รือพ​ ระใ​นศ​ าสนาค​ ริสต​์
เท่านั้น​ที่​จะ​สามารถ​ตีความ​และ​สั่ง​สอน​ได้ การ​เป็น​ผู้นำ​ทาง​ความ​คิด​และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​บาทหลวง​ก็​อาศัย​อำนาจ​
ที่มาจ​ าก​การ​ตีความพ​ ระ​คัมภีร์ไ​บเบิล เมื่อ​ประชาชนท​ ั่วไปไ​ม่​สามารถ​จะศ​ ึกษา​ภาษา​ละติน ย่อม​ไม่มี​โอกาสท​ ี่​จะท​ ้าทาย​
การ​ตีความ​ของบ​ าทหลวง​ได้ บาทหลวง​ที่​ถูก​ส่ง​มา​ประจำ​โบสถ์​ย่อม​เท่ากับ​ผูกขาด​การต​ ีความ​นั้น​ไป​โดยอ​ ัตโนมัติ ทั้ง​
กลไกก​ ารส​ ารภาพบ​ าปท​ ีท​่ ำใหบ้​ าทหลวงม​ คี​ วามใ​กลช​้ ดิ สามารถเ​กบ็ งำค​ วามผ​ ดิ แ​ ละช​ ีน้ ำก​ ารด​ ำเนนิ ช​ วี ิตข​ องค​ นในช​ มุ ชน
ยิ่ง​ทำให้อ​ ิทธิพลข​ องบ​ าทหลวง​เพิ่มข​ ึ้นไ​ป​อีก

       ประการ​สุดท้าย การ​เป็น​ทั้ง​ที่มา​และ​เจ้าของ​อำนาจ​ทาง​โลก​และ​อำนาจ​ทาง​ธรรม​นั้น มา​จาก​สาเหตุ​ที่​ว่า​เมื่อ
พ​ ระ​สันตะปาปา​เป็นต​ ัวกลางร​ ะหว่างพ​ ระผ​ ู้เ​ป็นเ​จ้า​และ​มนุษย์ ก็ย​ ่อม​เท่ากับก​ ารเ​ป็น​ผู้นำ​ทางธ​ รรมห​ รือ​ทางจ​ ิตว​ ิญญาณ​
ด้วยโ​ดยอ​ ัตโนมัติ แตน่​ อกจากก​ ารเ​ป็นผ​ ู้นำท​ างจ​ ิตว​ ิญญาณแ​ ล้ว โบสถย์​ ังเ​ปน็ ท​ ี่มาข​ องอ​ ำนาจท​ างโ​ลกข​ องฝ​ ่ายอ​ าณาจักร​
ด้วย เนื่องจาก​ว่า​เมื่อ​ชาว​ยุโรป​ใน​สมัย​กลาง​เกือบ​ทั้ง​หมด​เป็น​ค​ริสต​ศาสนิ​กชน และ​เมื่อ​โลก​นี้​ตาม​ความ​เชื่อ​ที่​ปรากฏ​
ใน​พระ​คัมภีร์​ไบเบิล​แล้ว​ถูก​สร้าง​โดย​พระ​ผู้เ​ป็น​เจ้า3 และถ​ ูก​ส่งม​ อบม​ ายัง​พระ​เยซูค​ ริสต์ และส​ ืบทอด​มายังอ​ ัคร​สาวก​
ปี​เตอร์​หรือ​เซนต์​เป​โตร​ผู้​เป็น​พระ​สันตะปาปา​พระองค์​แรก4 และ​ส่ง​ผ่าน​ต่อ​มายัง​พระ​สันตะปาปา​ทุก​พระองค์ การ​
ตีความ​ข้อความ​ใน​พระ​คัมภีร์​ไบเบิล​ใน​ลักษณะ​นี้​ทำให้​โบสถ์​สามารถ​อ้าง​ถึงว่า​ที่มา​ของ​อำนาจ​ปกครอง​ของ​กษัตริย์​
คริสเตียนท​ ุกพ​ ระองค์ย​ ่อมต​ ้องม​ าจ​ ากพ​ ระผ​ ูเ้​ป็นเ​จ้า การป​ ระทานพ​ รจ​ ากพ​ ระผ​ ูเ้​ป็นเ​จ้าจ​ ึงท​ ำใหก้​ ษัตริย์ม​ พี​ ระร​ าชอ​ ำนาจ
และเ​มื่อพ​ ระส​ ันตะปาปาเ​ป็นต​ ัวกลางข​ องพ​ ระผ​ ู้เ​ป็นเ​จ้าก​ ับม​ นุษย์ อำนาจข​ องก​ ษัตริย์ค​ ริสเตียนจ​ ึงต​ ้องไ​ด้ร​ ับก​ ารร​ องรับ​
จากโ​บสถ์ไ​ปด​ ้วย หากม​ กี​ ษัตริย์ค​ ริสเตียนพ​ ระองคใ์​ดก​ ระทำก​ ารต​ ่อต​ ้านโ​บสถก์​ อ็​ าจถ​ ูกพ​ ระส​ ันตะปาปาป​ ระกาศบ​ ัพพา-
ชน​ ยี​ กรร​ ม (excommunication) ได*้ ซึง่ จ​ ะก​ ลายเ​ปน็ ข​ อ้ อ​ า้ งท​ ีด่​ ท​ี ีท่​ ำใหข้​ นุ นางส​ ามารถท​ ำร​ ฐั ประหาร เปลี่ยนต​ ัวก​ ษัตริย​์
หรือแ​ ม้แต่เ​ปลี่ยนว​ งศ์ก​ ษัตริย์ไ​ด้​ในท​ ี่สุด

         1 ม.ร.ว. คึก​ฤทธิ์ ปราโมช ฝรั่ง​ศักดินา กรุงเทพมหานคร นาน​มีบ​ ุ๊ค​ส์ 2548 หน้า 35
         2 เรื่องเ​ดียวกัน หน้า 107
         3 พระค​ ​ริสต​ธรรมค​ ัมภีร์ ปฐมก​ าล 1,1 หรือ Bible, Genesis 1,1.
         4 เรือ่ งเ​ดยี วกนั มทั ธวิ 16, 18-19 หรอื Ibid., Mathew 16, 18-19. จาก​ขอ้ ความท​ วี​่ า่ “18: ฝา่ ยเ​ราบ​ อกท​ า่ นด​ ว้ ยว​ า่ ทา่ นค​ อื เ​ปโ​ตร และบ​ น​
ศิลาน​ ีเ้​ราจ​ ะส​ ร้างค​ ร​ ิสตจ​ ักรข​ องเ​ราไ​ว้ และป​ ระตแู​ ห่งน​ รกจ​ ะม​ ชี​ ัยต​ ่อค​ ร​ ิสตจ​ ักรน​ ั้นก​ ห็​ ามิได”้ เน้นโ​ดยผ​ ูเ้​ขียน ข้อความด​ ังก​ ล่าวเ​ป็นส​ ิ่งท​ ีพ่​ ระเ​ยซคู​ ริสต​์
กล่าว​กับ​พระ​อัคร​สา​วกเป​โตร​หรือ​ปี​เตอร์ ประเด็น​ของ​การ​อ้างอิง​อำนาจ​ของ​โบสถ์​ตั้ง​อยู่​บน​ข้อความ ‘บน​ศิลา’ โดย​ตีความ​ศิลา​นี้​หมาย​ถึง​แผ่น​ดิน​
ทั้ง​มวล และ “19: เรา จะม​ อบล​ ูกกุญแจข​ องอ​ าณาจักร​แห่งส​ วรรค์​ให้​ไว้​แก่​ท่าน ท่านจ​ ะผ​ ูกมัด​สิ่ง​ใด​ใน​โลก สิ่ง​นั้น​ก็จ​ ะ​ถูกม​ ัด​ใน​สวรรค์ และท​ ่าน​จะ​
ปล่อย​สิ่ง​ใด​ใน​โลก สิ่ง​นั้น​จะ​ถูก​ปล่อย​ใน​สวรรค์” และ​การ​อ้าง​อำนาจ​ของ​โบสถ์​ยิ่ง​แสดง​ให้​เห็น​เด่น​ชัด​ขึ้น​ไป​อีก​เมื่อ​ตีความ​ข้อความ​ถัด​มา​ว่า การ​
ผู​กมัด​หรือป​ ล่อยข​ อง​พระ​สันตะปาปา​จะม​ ี​ผลต​ ่อ​สิ่ง​นั้นบ​ นส​ วรรค์​ด้วย อำนาจด​ ัง​กล่าวจ​ ึง​เป็นอ​ ำนาจท​ ี่​พิเศษ​เฉพาะข​ อง​พระส​ ันตะปาปา​เท่านั้น
         *ซึ่ง​มี​ตัวอย่าง​เช่น กรณี​พระ​จักรพรรดิ​เฮ​นรี่​ที่ 4 แห่ง​จักรวรรดิ​โรมัน​อัน​ศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1084-1105) ใน​ปัญหา​เรื่อง​อำนาจ​เหนือ​รัฐ​
บรรพชิต (ecclesiastical) หรือ​ดิน​แดน​ที่​ปกครอง​โดย​พระ​ที่​อยู่​ใน​จักรวรรดิ​ว่า​ควร​ขึ้น​ตรง​ต่อ​องค์​พระ​จักรพรรดิ​หรือ​ขึ้น​ตรง​ต่อ​พระ​สันตะปาปา
ซึ่ง​นำ​ไป​สู่​การ​ประกาศ​บัพ​พา​ชี​ยกร​รม​โดย​พระ​สันตะปาปา​เก​รก​อรี่​ที่ 7 (ค.ศ. 1015-1085) ใน ค.ศ. 1080 หรือ​พระ​เจ้า​จอห์น​แห่ง​อังกฤษ (ค.ศ.
1199-1216) จาก​การ​พิพาท​กันเ​รื่องก​ าร​แต่ง​ตั้ง​พระ​สังฆราช​ที่พ​ ระเจ้า​จอ​หน์ต​ ้องการ​มี​อำนาจ​แต่ง​ตั้งพ​ ระส​ ังฆราช​ใน​ราชอ​ าณาจักรข​ อง​ตน ในข​ ณะท​ ี่​
พระส​ ันตะปาปาต​ ้องการส​ งวนอ​ ำนาจด​ ังก​ ล่าวไ​วก้​ ับต​ ัวพระอ​ งคเ์​อง การพ​ ิพาทน​ ำไ​ปส​ ูก่​ ารท​ ีพ่​ ระส​ ันต​ ป​ าป​ าอ​ ินโ​นเ​ซนสท์​ ี่ 3 (ค.ศ. 1160-1216) ประกาศ​
บัพพาชน​ ี​ยกรร​ มพ​ ระเจ้า​จอห​ ์นใน ค.ศ. 1209

                              ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14