Page 10 - สังคมโลก
P. 10

3-8 สังคมโ​ลก

       ถึงแ​ ม้ว่าโ​บสถ์ใ​นย​ ุคก​ ลางจ​ ะม​ ีอ​ ำนาจ​ล้นพ้นแ​ ต่ก​ ารล​ ดอ​ ิทธิพล​ลงข​ องอ​ ำนาจข​ องโ​บสถ์​ก็เ​กิดข​ ึ้นใ​นท​ ี่สุด โบสถ​์
คร​ ิสตจ​ ักรไ​ด้ล​ ดบ​ ทบาทล​ งไ​ปเ​มื่อเ​กิดค​ วามแ​ ตกแยก​ครั้งใ​หญ่ หรือท​ ี่เ​รียก​ว่า “การป​ ฏิรูป​ทางศ​ าสนา” (The Reforma-
tion) ซึ่ง​นำ​โด​ยมาร์ต​ ิน ลูเธอร์ (Martin Luther) ที่​เกิด​ขึ้น​จาก​สาเหตุ 3 ประการภ​ ายใ​นค​ ​ริสตจ​ ักรเ​อง นั่น​คือ ระบบ​
การเ​งิน​ของ​พระส​ ันตะปาปา สภาพ​ความ​เป็นอ​ ยู่​ของพ​ ระ และก​ ารพ​ ิมพ์​พระ​คัมภีร์​ใหม่ (New Testament) เป็น​ภาษา​
ท้อง​ถิ่น5

       สาเหตุ​ประการ​แรก ปัญหา​ใน​ระบบ​การ​เงิน​ของ​พระ​สันตะปาปา​เกิด​ขึ้น​จาก​การ​ซื้อ​ขาย​ตำแหน่ง​สงฆ์ และ​
การ​ขาย​ใบ​ไถ่บาป ซึ่ง​ทำให้​สภาพ​การ​เป็น​ผู้นำ​ทาง​จิต​วิญญาณ​ของ​โบสถ์​สั่น​คลอน การ​ไถ่บาป​กลาย​เป็น​เรื่อง​ทาง
การค​ า้ กจิ การท​ างจ​ ติ ว​ ญิ ญาณข​ องโ​บสถก​์ ลายเ​ปน็ ธ​ รุ กจิ ท​ นี​่ ำค​ วามม​ ัน่ ค​ ัง่ ม​ าส​ บู​่ าทหลวง พระส​ งั ฆราช และพ​ ระส​ นั ตะปาปา
ประการ​ที่​สอง สภาพ​ความ​เป็น​อยู่​ของ​พระ​เกิด​จาก​การ​ขยาย​ตัว​ของ​โบสถ์ ยิ่ง​โบสถ์​ขยาย​ตัว​ไป​มาก​ขึ้น​เท่าใด พระ​
หรือ​นักบวช​ที่​ไม่​ได้​มี​ความ​รู้ ไม่​สามารถ​ใช้​ภาษา​ลาติน​ได้​อย่าง​ถูก​ต้อง รวม​ถึง​การ​ความ​ประพฤติ​ที่​ไม่​ถูก​ทำนอง​
คลองธ​ รรม​ยิ่งเ​พิ่มจ​ ำนวน​ขึ้น​เรื่อยๆ ทำให้​ความศ​ ักดิ์​สิทธิ์​ของ​โบสถ์ย​ ิ่ง​ลดล​ งไ​ป​อีก สาเหต​ปุ ระการ​สุดท้าย การ​ตี​พิมพ​์
พระค​ ัมภีร์ใ​หม่ จากเ​ดิมท​ ี่อ​ ำนาจข​ องโ​บสถ์เ​กิดข​ ึ้นจ​ ากก​ ารผ​ ูกขาดก​ ารต​ ีความพ​ ระค​ ัมภีร์ การพ​ ิมพ์ท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นพ​ ร้อมๆ กับ​
การแ​ ปลพ​ ระ​คัมภีร์​ใหม่​เป็น​ภาษา​ท้อง​ถิ่น ทำให้​การต​ ีความพ​ ระค​ ัมภีร์​ไม่​สามารถผ​ ูกขาดโ​ดย​โบสถ์​ได้​อีก​ต่อ​ไป ทั้งย​ ัง​
ทำให้ป​ ระชาชน​หรือป​ ัญญาช​ นส​ ามารถต​ รวจส​ อบว​ ัตรป​ ฏิบัติข​ องพ​ ระน​ ักบวช​จากต​ ัวพระค​ ัมภีร์ใ​หม่ไ​ด้ เมื่อป​ ระกอบ​กับ​
สองส​ าเหตุแ​ รก ยิ่งท​ ำให้ค​ วามศ​ รัทธาใ​นโ​บสถ์ค​ าทอลิกล​ ดล​ งข​ ึ้นไ​ปอ​ ีก จึงเ​กิดน​ ักบวชท​ ี่พ​ ยายามจ​ ะป​ ฏิรูปศ​ าสนาค​ ริสต์​
ให้​ดี​ขึ้น​ด้วย​การ​ปฏิเสธ​อำนาจ​ของ​พระ​สันตะปาปา และ​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​การ​ตีความ​พระ​คัมภีร์​ด้วย​มโนธรรม​และ​
สามญั สำนกึ ข​ องต​ นเอง ขบวนการน​ เี​้ องท​ ไี​่ ดร​้ บั ก​ ารย​ อมรบั แ​ ละแ​ พรข​่ ยายจ​ นก​ ลายเ​ปน็ ศ​ าสนาค​ รสิ ตน​์ กิ ายโ​ปรเตสแตนท์
ใน​ที่สุด

       ระบบฟ​ วิ ดัล
       สาเหตุ​การ​เกิด​ขึ้น​ของ​รัฐ​สมัย​ใหม่​ประการ​ที่​สอง​คือ​ระบบ​ฟิวดัล​ที่​มี​นัย​สำคัญ 2 ด้าน ​ได้แก่ ความ​สัมพันธ์​
ทาง​เศรษฐกิจ และค​ วาม​สัมพันธ์ท​ างการ​เมือง
       ใน​ด้าน​ความส​ ัมพันธ์ท​ างเ​ศรษฐกิจ ระบบ​ฟิวดัล​มีร​ ากฐาน​อยู่​ที่​ปัจจัย​การผ​ ลิตท​ ี่ส​ ำคัญค​ ือท​ ี่ดิน6 โดยที่​ดินอ​ ยู่​
ภายใ​ตก้​ ารค​ รอบค​ รองข​ องเ​จ้าท​ ี่ดินไ​ม่ว​ ่าจ​ ะเ​ป็นข​ ุนนาง พระ กษัตริย์ หรือจ​ ักรพรรดิ และป​ ระชากรภ​ ายในท​ ี่ดินเ​หล่าน​ ั้น​
ก็​จะส​ ังกัด​อยู่​ภายใ​ต้​เจ้าของท​ ี่ดินโ​ดยอ​ ัตโนมัติ รูป​แบบ​ความสัมพันธ์​ทางการ​ผลิตแ​ บบน​ ี้เ​รียก​ว่าร​ ะบบ​ฟิวดัล คนท​ ี่อ​ ยู่​
ใน​สังกัดข​ อง​เจ้าของ​ที่ดินม​ ีหน้าท​ ี่​จะ​ต้องส​ ่ง​มอบ​ผลผลิต​ทางการเ​กษตรท​ ี่​ได้​จากท​ ี่ดิน และ​ทุ่มเท​กำลังท​ ี่ใ​ช้​ไม่​ว่า​จะเ​ป็น​
ในด​ ้าน​สร้าง​สาธารณูปโภค หรือ​การป​ ้องกันด​ ิน​แดน หรือ​การท​ ำ​สงครามใ​ห้แ​ ก่​เจ้าของ​ที่ดิน​ตามท​ ี่​เจ้าของ​ที่ดิน​ต้องการ
การส​ ่ง​มอบผ​ ลผลิตแ​ ละ​กำลังค​ น​จะข​ ึ้น​กับข​ ้อ​ตกลงท​ ี่​เจ้าของท​ ี่ดิน​ทำส​ ัญญา​แบ่ง​ที่ดิน​ให้​กับค​ นใน​สังกัด การ​ทำส​ ัญญา​
ดังก​ ล่าวจ​ ะม​ ีผ​ ลต​ ลอดไ​ปช​ ั่วล​ ูกช​ ั่วห​ ลาน ที่ดินจ​ ึงเ​ป็นส​ ิ่งท​ ี่ส​ ืบก​ ันเ​ป็นม​ รดกต​ ่อไ​ปเ​รื่อยๆ จนกว่าจ​ ะม​ ีฝ​ ่ายห​ นึ่งผ​ ิดส​ ัญญา
ซึง่ จ​ ะม​ ผี​ ลท​ ำใหต้​ อ้ งม​ ขี​ ้อต​ กลงก​ ันใ​หม่ อาจส​ ังเกตล​ ักษณะก​ จิ กรรมท​ างเ​ศรษฐกจิ ใ​นส​ มัยก​ ลางไ​ดจ้​ ากภ​ าพท​ ี่ 3.1 ตอ่ ไ​ปน​ ี้

         5 ผู้​เขียน​มี​ความ​เห็น​สอดคล้อง​กับ เจ. เอ็ม ทอม​ป์​สัน ประวัติศาสตร์​ยุโรป ค.ศ. 1494-1789 แปล​โดย นันทา โชติ​กะ​พุ​กกะณะ และ
นิ​ออน สนิท​วงศ์ ณ อยุธยา กรุงเทพมหานคร มูลนิธิโ​ครงการต​ ำราส​ ังคมศาสตร์​และม​ นุษยศาสตร์ 2525 หน้า 51 โปรดด​ ู​รายล​ ะเอียด​โดย​พิสดาร​
ได้​ใน เรื่องเ​ดียวกัน หน้า 51-66

         6 ปัจจัย​การ​ผลิต​หรือ​สิ่ง​ที่​ทำให้​การ​ผลิต​ใน​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ดำเนิน​ไป​ได้​ประกอบ​ด้วย แรงงาน ที่ดิน ทุน และ​ผู้​ประกอบ​การ
โปรด​ดู​ราย​ละเอียด​และ​ความ​สำคัญ​ของ​ปัจจัย​การ​ผลิต​แต่ละ​ชนิด รวม​ถึง​ความ​ขัด​แย้ง​ที่​เกิด​จาก​ปัจจัย​การ​ผลิต​ใน​แต่ละ​ช่วง​เวลา​ได้​ในหน่วย​ที่ 5
“พัฒนาการท​ างเ​ศรษฐกิจ​ของส​ ังคมโ​ลก” และห​ น่วยท​ ี่ 12 “ความ​ขัด​แย้ง​ทางเ​ศรษฐกิจ” ในเ​อกสารก​ ารส​ อนช​ ุด​วิชาส​ ังคม​โลก​นี้

                             ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15