Page 19 - สังคมโลก
P. 19

แนวคิด​และ​พัฒนาการข​ องร​ ัฐ 3-17

รฐั ​สมัยใ​หมท่​ เ่ี​กดิ ​ขนึ้ ​ในย​ ุคอ​ าณานิคม

       เหตุการณ์เ​ริ่ม​เปลี่ยนแปลงไ​ป​เมื่อ​โปรตุเกส​ยึด​มะละกา​ใน ค.ศ. 151115 และ​หลัง​จาก​นั้น​มะละกา​ก็​เปลี่ยน​
ผู้​ครอบ​ครองเ​รื่อยไ​ป เช่น ตกเ​ป็น​ของฮ​ อลันดา​หรือเ​นเธอร์แลนด์​ใน ค.ศ. 1641 การย​ ึด​ครอง​ดิน​แดน​เกิดข​ ึ้น​ต่อ​เมื่อ​
เทคโนโลยีก​ ารเ​ดินเ​รือเ​จริญเ​พียงพ​ อทีจ่​ ะท​ ำใหก้​ ารส​ ่งก​ ำลังบ​ ำรุงจ​ ากป​ ระเทศเ​จ้าอ​ าณานิคมม​ ายังด​ ินแ​ ดนท​ ีถ่​ ูกย​ ึดค​ รอง​
เปน็ ไ​ปอ​ ย่างส​ ะดวก เพราะม​ ฉิ​ ะนัน้ ด​ นิ แ​ ดนท​ ีถ่​ กู ย​ ึดค​ รองจ​ ะเ​ทา่ กับเ​ปน็ ด​ นิ แ​ ดนโ​ดดเ​ดี่ยวท​ ีถ่​ กู ล​ อ้ มร​ อบไ​ปด​ ้วยก​ องก​ ำลงั ​
ของศ​ ัตรู ซึ่งจ​ ะไ​มส่​ ามารถด​ ำรงอ​ ยูไ่​ดอ้​ ย่างย​ าวนาน การย​ ึดค​ รองม​ ะละกาน​ ีเ้​องจ​ ึงเ​ป็นจ​ ุดเ​ริ่มต​ ้นข​ องก​ ารส​ ร้างอ​ าณานิคม​
ใน​ภูมิภาคเ​อเชียต​ ะวัน​ออกเ​ฉียง​ใต้ รวม​ถึงก​ าร​ตั้งอ​ าณานิคม​ของส​ เปนใ​น​หมู่​เกาะฟ​ ิลิปปินส์​ใน ค.ศ. 1565 ด้วย

       แต่ก​ าร​เข้า​มา​ยึดค​ รองเ​ป็นกร​ ะ​บวนก​ ารท​ ี่​เริ่ม​เกิด​ขึ้น​ตั้งแต่​คริสต์​ศตวรรษท​ ี่ 17 เป็นต้น​ไป เช่น การ​ยึด​ครอง
​เกาะ​ชวาด้าน​ตะวัน​ตก​ของ​ฮอลันดา​ใน ค.ศ. 1619 ที่​นำ​ไป​สู่​การ​ก่อ​ตั้ง​เมื่อ​ปัตตาเวีย (Batavia) หรือ​จาร์​กา​ตา​ใน
​ปัจจุบัน16 การ​ยึด​ครอง​เหล่า​นี้​นำ​มา​ซึ่ง​การ​บังคับ​ใช้​แรงงาน​เพื่อ​การ​เพาะ​ปลูก เช่น กาแฟ เป็นต้น การ​ทำการ​ค้าขาย​
ภายในภ​ มู ภิ าคแ​ ละส​ ง่ ร​ ายไ​ดก​้ ลบั ไ​ปย​ งั ป​ ระเทศเ​จ้าอ​ าณานคิ ม  การจ​ ัดต​ ั้งร​ ูปแ​ บบก​ ารป​ กครองใ​นร​ ะยะแ​ รกย​ งั ใ​ชล้​ ักษณะ​
การ​ปกครองแ​ บบ​ท้องถ​ ิ่น และอ​ าศัย​ผู้ป​ กครอง​ท้อง​ถิ่น​บังคับใ​ช้​แรงงานค​ นใน​พื้นที่​อีก​ต่อ​หนึ่ง17

       ใน​กรณี​ของ​การ​ยึด​ครอง​ภาค​พื้น​ทวีป​เกิด​ขึ้น​หลัง​ช่วง​เวลา​การ​ยึด​ครอง​ดิน​แดน​ที่​เป็น​หมู่​เกาะ​นาน​มาก​โดย​
เกิด​ขึ้นใ​น​คริสต์ศ​ ตรว​ รรษท​ ี่ 19 (ประมาณ ค.ศ. 1800 เป็นต้นไ​ป) ได้แก่ การ​ที่อ​ ังกฤษย​ ึด​ครองพ​ ม่า​ใน ค.ศ. 1824
และ​มาเลเซีย​ใน ค.ศ. 1826 หรือก​ าร​ที่ฝ​ รั่งเศสย​ ึด​ครองก​ ัมพูชาใ​น ค.ศ. 1863 เวียดนามใ​น ค.ศ. 1887 และ​ลาวใ​น
ค.ศ. 1893

       หาก​นิยาม​การ​เกิด​ขึ้น​ของ​รัฐ​สมัย​ใหม่​ว่า​หมาย​ถึง​การ​มี​อำนาจ​เหนือ​พื้นที่​โดยที่​ไม่มี​อำนาจ​จาก​แหล่ง​อื่น​มา​
แทรกแซง​ได้​นั้น18 จะ​พบ​ว่า​ใน​บรรดา​อาณานิคม​ที่​เกิด​จาก​การ​จัด​รูป​แบบ​การ​ปกครอง​ขึ้น​มา​ใหม่​จริง มี​โครงสร้าง​
การ​ปกครอง​ที่​เป็น​ระบบ​ระเบียบ โดย​มี​ทั้ง​บาง​ส่วน​ที่มา​จาก​คน​พื้น​เมือง​และ​บาง​ส่วน​ที่​เป็น​พลเมือง​ของ​ประเทศ
​เจ้า​อาณานิคม19 แต่​อำนาจ​อธิปไตย​ยัง​ไม่​สามารถ​มี​ได้​เนื่องจาก​การ​เป็น​อาณานิคม การ​จัดการ​ด้าน​ดิน​แดน หน่วย​
การ​ปกครอง หรือ​ทรัพยากร​ล้วน​แต่​เป็น​ไป​ตาม​ความ​ประสงค์​ของ​เจ้า​อาณานิคม​ทั้ง​สิ้น20 ฐานะ​ของ​องค์การ​ปกครอง​
ที่​เกิด​ขึ้น​ใหม่​จึงเป็น​แต่​เพียง​หน่วย​การ​ปกครอง​ของ​ประเทศ​แม่​หรือ​ประเทศ​เจ้า​อาณานิคม​เท่านั้น มี​ข้อ​ยกเว้น​เพียง​
ประเทศ​เดียว​ที่​กลาย​เป็น​รัฐ​สมัย​ใหม่​ใน​ช่วง​เวลา​นี้ คือ​ราช​อาณาจักร​สยาม​ใน​สมัย​พระบาท​สมเด็จ​พระ​จุลจอม-
เกล้าเ​จ้าอ​ ยู่ห​ ัว (ค.ศ. 1868-1910) แห่งร​ าชวงศจ์​ ักรี ที่ม​ ีท​ ั้งก​ ารจ​ ัดร​ ูปแ​ บบก​ ารป​ กครองแบบใ​หม่แ​ ละม​ ีอ​ ำนาจเ​หนือพ​ ื้นที​่
โดยไ​มต่​ กเ​ปน็ อ​ าณานคิ ม แตก่​ ารเ​กิดข​ ึน้ ข​ องร​ าชอ​ าณาจกั รส​ ยามส​ มัยใ​หมก่​ เ​็ ป็นผ​ ลพ​ วงจ​ ากก​ ารม​ าถ​ งึ แ​ ละก​ ารบ​ ีบค​ ั้นของ​
ชาตต​ิ ะวนั ต​ กอ​ ยูด่ ี เนือ่ งจากด​ นิ แ​ ดนร​ อบข​ า้ งต​ า่ งต​ กเ​ปน็ อ​ าณานคิ ม ความห​ วัน่ เ​กรงท​ จี​่ ะต​ อ้ งต​ กเ​ปน็ อ​ าณานคิ ม การเ​จรจา​

         15 Leonard Y. Andaya. “Interactions With The Outside of The World and Adaptation in Southeast Asian Society,
1500-1800”, The Cambridge History of Southeast Asia Volume 1 From Early Time to c. 1800, ed. Nicolas Tarling. Cambridge:
Cambridge University Press, 2008, p. 354. การ​มา​ถึงข​ องช​ าติ​ตะวัน​ตก​นั้น​ต่างฝ​ ่ายต​ ่าง​มา เพื่อ​แสวงหาผ​ ลป​ ระโยชน์ และ​ในห​ ลาย​ครั้ง​นำ​ไป​
สู่​ความข​ ัด​แย้งซ​ ึ่งก​ ันแ​ ละ​กัน ตัวอย่างท​ ี่​ชัดเจน​คือก​ รณีข​ องก​ ารย​ ึด​ครอง​มะละกาท​ ี่​มี​การเ​ปลี่ยน​เจ้าของ​ไป​มา​ตั้งแต่​โปรตุเกส ฮอลันดา และใ​น​ที่สุด​
อังกฤษใ​น ค.ศ. 1824 โปรดด​ ู Ibid

         16 Ibid., p. 349.
         17 Anthony Reid, “Economic and Social Change, c. 1400-1800,” p. 488.
         18 ประเด็นเ​กี่ยว​กับน​ ิยามข​ อง​รัฐ​สมัยใ​หม่ โปรดด​ ู​ใน​ตอน​ต่อไ​ป ตอน​ที่ 3.2 “แนวคิด​ที่​ว่าด​ ้วย​องค์​ประกอบข​ อง​รัฐ”
         19 ตัวอย่าง​ของ​การจ​ ัด​องค์การ​ใน​ลักษณะน​ ี้​ เช่น การ​จัดร​ ูป​แบบ​การ​ปกครอง​โดยใ​ห้​สุลต่านแ​ ละข​ ้าราชการใ​นด​ ินแ​ ดนแ​ ถบ​มลายูเ​ข้า​มา​
ร่วม​ใน​สภา​มนตรีแ​ ห่ง​รัฐ (State Council) ใน​กรณีข​ อง​อังกฤษ หรือ​การใ​ห้​โอกาส​คน​พื้น​เมือง​ในฟ​ ิลิปปินส์​เลือก​สมาชิก​กรรมการจ​ ังหวัด 1 ใน 3
ของ​สมาชิก​ทั้งหมด​ใน​กรณี​ของ​สหรัฐอเมริกา โปรด​ดู จอห์น แบ​สติ​น และ แฮ​รี่ เจ เบ็น​ดา ประวัติศาสตร์​เอเชีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้​สมัย​ใหม่​
หน้า 51 และ 56
         20 จอห์น แบส​ ติน​ และ แฮร​ ี่ เจ เบ็นด​ า ประวัติศาสตร์​เอเชียต​ ะวัน​ออก​เฉียง​ใต้ส​ มัย​ใหม่ หน้า 172-173

                              ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24