Page 28 - สังคมโลก
P. 28
3-26 สังคมโลก
การไ ดร้ บั ก ารร ับรองจากรัฐอืน่
โดยท ัว่ ไปแ ลว้ อ งคป์ ระกอบส ดุ ทา้ ยข องก ารเปน็ ร ฐั ค อื อ ำนาจอ ธปิ ไตย แตใ่ นอ นสุ ญั ญาม อนเตว เิ ดโอกล บั ใหเ้ ปน็
“การได้ร ับการรับรองจ ากร ัฐอ ื่น” ซึ่งแ ท้จริง “อำนาจอ ธิปไตย” กับ “การได้รับก ารร ับรองจากรัฐอื่น” มีความสัมพันธ์
เกี่ยวข้องก ันอ ย่างแ นบแ น่น กล่าวค ือก ารได้ร ับก ารร ับรองจ ากร ัฐอ ื่นค ือก ารท ีร่ ัฐอ ื่นย อมรับว ่าร ัฐๆ นั้นม อี ำนาจอ ธิปไตย
เหมือนกับร ัฐตน แต่ปัญหาที่ต ามก็คือ แล้ว “อำนาจอ ธิปไตย” หมายถ ึงอะไร
อำนาจอ ธิปไตยก ็เช่นเดียวกับค ำว่า “รัฐ” ที่ม ีการให้ความห มายที่ห ลากห ลาย แต่ค ำที่ได้รับก ารย อมรับมาก
ที่สุดคือ “อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายที่ม ีส ูงสุดเหนือพื้นที่” (Supreme authority with a territory)30 ความส ูงสุด
คือไม่มีอำนาจภายในห รือภ ายนอกที่จ ะแทรกแซงได้ นี่เองจึงเป็นสิ่งที่แ บ่งแ ยกระหว่างรัฐท ี่ส ามารถกระทำส ิ่งต่างๆ ได้
ด้วยตนเอง (authentic state) หรือรัฐท ี่เป็นเพียงหุ่นเชิด (puppet state) ความส ามารถในการก ำหนดน โยบายของ
ตนเองโดยไม่ต ้องรับคำสั่งหรืออ ยู่ใต้อาณัติข องรัฐอ ื่นจึงเป็นเครื่องชี้ที่สำคัญในการเป็นร ัฐ
กิจกรรม 3.2.2
องคป์ ระกอบท งั้ 4 ดา้ น ดา้ นใดส ำคญั ท ส่ี ดุ ท ท่ี ำใหส้ ามารถแ บง่ แ ยกร ฐั ท แี่ ทจ้ รงิ อ อกจ ากร ฐั ท เี่ ปน็ ห นุ่ เชดิ
หรอื รฐั ทีอ่ ยู่ภายในอ าณตั ิของรฐั อ น่ื ได้
แนวต อบก ิจกรรม 3.2.2
อำนาจอธิปไตย เน่ืองจากการมีอำนาจอธิปไตยได้กินความถึงองค์ประกอบด้านอ่ืนๆ ด้วย กล่าวคือ
การจ ะมอี ำนาจครอบคลมุ เหนอื ด ินแ ดนนนั้ จ ำเป็นอย่างย ่ิงทจี่ ะต ้องม ดี ินแดน ทัง้ ก ารมีอำนาจย่อมหมายถึงก ารมี
องค์การที่จะใช้อำนาจน้ันซึ่งก็คือรัฐบาล และต้องมีบุคลากรหรือทรัพยากรให้การใช้อำนาจน้ันสามารถเป็นไป
ได้จ ึงก นิ ค วามถ ึงการม ีป ระชากรไปด ว้ ย
30 Dan Philpott, “Sovereignty,” The Stanford Encyclopedia of Philosophy (Winter 2010 Edition), Edward N. Zalta
(ed.), URL = <http://plato.stanford.edu/archives/win2010/entries/sovereignty/>. ตัวอย่างของคำนิยามอำนาจอธิปไตยแบบอื่นและ
ประวัติค วามเป็นม าข องคำสามารถด ูได้จากที่เดียวกัน
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช