Page 26 - สังคมโลก
P. 26
3-24 สังคมโลก
กิจกรรม 3.2.1
แนวคิดเร่ืองใดที่กล่าวถึงอำนาจเหนือพื้นท่ีท่ีไม่มีอำนาจภายในหรือภายนอกองค์การน้ันสามารถ
แทรกแซงได้
แนวต อบกิจกรรม 3.2.1
แนวคดิ เรื่องอำนาจอ ธปิ ไตยหรืออ ำนาจสงู สุดเหนอื บุคคลแ ละท รพั ยากรในพื้นทห่ี นง่ึ ๆ ทไ่ี ม่มผี ู้ใดห รือ
องค์การใดม าท ้าทายได้ ไมว่ ่าจะอ ยภู่ ายในห รอื ภ ายนอกพ้นื ท่ีนัน้
เรื่องท่ี 3.2.2
องคป์ ระกอบของรฐั
หากกล่าวถึงองค์ประกอบของรัฐ คงพอที่จะคุ้นเคยหรือพอได้ยินมาบ้างเกี่ยวกับองค์ประกอบของรัฐที่ว่า
รัฐประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ประชากร ดินแดน รัฐบาล และอำนาจอธิปไตย คำถามที่น่าสนใจคือ
องค์ประกอบเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากอะไร และองค์ประกอบเหล่านี้มีความหมายอย่างไร เพื่อตอบคำถามเหล่านี้
ในส ่วนนี้จะกล่าวถึงที่ม าของอ งค์ป ระกอบท ั้งส ี่ด ้านข องรัฐ และรายล ะเอียดในองค์ประกอบด ังก ล่าว
ท่ีมา
จากท ี่ได้ก ล่าวไปในส่วนท ี่ว ่าด้วยองค์ป ระกอบที่หลากหลายของร ัฐ จะพบว ่าถ ึงแม้นักค ิดจะให้องค์ประกอบ
ของรัฐที่แตกต่างกัน แต่มีความคิดบางอย่างที่ร่วมกันอยู่ และความคิดเหล่านี้เองที่ต่อมากลายเป็นสิ่งที่ยอมรับกัน
โดยท ั่วไปในส งั คม หรืออ ย่างน อ้ ยในท างการเมืองร ะหวา่ งป ระเทศ สิ่งท ีแ่ สดงใหเ้ ห็นถ งึ ก ารย อมรบั น ีจ้ ะส ามารถด ไู ดจ้ าก
อนุสัญญามอนเตวิเดโอว ่าด ้วยส ิทธิและห น้าที่ของรัฐ (Montevideo Convention on the Rights and Duties of
States, 1933) อนุสัญญาด ังก ล่าวเป็นค รั้งแ รกท ีม่ กี ำหนดถ ึงอ งคป์ ระกอบข องร ัฐอ ย่างเป็นท างการในก ารต กลงร ะหว่าง
ประเทศ ในม าตราแรกของข องอนุสัญญาได้กำหนดอ งค์ประกอบของรัฐไว้ว่า “รัฐในฐ านะบุคคลทางการเมืองร ะหว่าง
ประเทศค วรประกอบด้วยลักษณะด ังต่อไปน ี้ (ก) ประชากรถ าวร (ข) ขอบเขตท ี่ช ัดเจน (ค) รัฐบาล (ง) ศักยภาพที่จ ะมี
ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ร ฐั อ ืน่ ”29 จากม าตราท ี่ 1 ในอ นสุ ญั ญาฉ บบั น ไี้ ดส้ ง่ ผ ลใหก้ ลายเปน็ อ งคป์ ระกอบข องร ฐั ท ไี่ ดร้ บั ก ารย อมรบั
กันโดยทั่วไปน ับตั้งแต่น ั้นเป็นต้นมา และเพื่อให้เข้าใจถ ึงอ งค์ประกอบเหล่าน ี้ จะขออธิบายท ีล ะอ งค์ประกอบด ังนี้
29 Montevideo Convention on the Rights and Duties of States 1933, article I. จากข ้อความที่ว่า “The state as a person
of international law should possess the following qualifications: (a) a permanent population; (b) a defined territory; (c)
government; and (d) capacity to enter into relations with the other states.”
ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช