Page 35 - สังคมโลก
P. 35

แนวคิด​และพ​ ัฒนาการ​ของร​ ัฐ 3-33

มมุ ​มอง จดุ ม​ ่งุ ​หมาย และบ​ ทบาทข​ องร​ ฐั

       จะ​เห็น​ได้​ว่า​มุม​มอง​รัฐ​ใน​ฐานะ​เครื่อง​มือ​ของ​ชนชั้น​ปกครอง​เป็น​สิ่ง​ที่​เห็น​พ้อง​ต้อง​กัน​ใน​แนว​คิด​มาร์​ก​ซิ​สม์
แตค่​ วามแ​ ตกต​ ่างใ​นห​ มูน่​ ักม​ ารก์​ ซ​ สิ​ มเ์​กิดข​ ึ้นจ​ ากข​ ้อความข​ อง​ มาร์กซแ์​ ละเ​องเ​กลสข์​ ้างต​ ้น กล่าวค​ ือก​ ารต​ ีความข​ ้อความ​
แยกอ​ อกเ​ป็น แบบท​ ี่​หนึ่ง รัฐใ​ดๆ ย่อมม​ ีบ​ ทบาทห​ น้าที่​รับ​ใช้​ชนชั้น​ปกครอง ตัวอย่างเ​ช่น รัฐท​ ุนนิยมย​ ่อม​มีหน้า​ที่​รับใ​ช​้
ชนชั้น​นายทุน โดย​ไม่​ได้​มี​การ​แบ่ง​แยก​ระหว่าง​ระบบ​ทุนนิยม​กับ​นายทุน​ที่​เป็น​ปัจเจกบุคคล37 แบบ​ที่​สอง รัฐ​ใดๆ
ย่อมม​ ีหน้าท​ ีร่​ ับใ​ชห้​ รือร​ ักษาไ​วซ้​ ึ่งร​ ะบบค​ วามส​ ัมพันธท์​ างเ​ศรษฐกิจข​ องช​ นชั้นป​ กครองน​ ั้น ตัวอย่างเ​ช่น รัฐท​ ุนนิยมย​ ่อม​
มีหน้าท​ ี่ร​ ักษาไ​ว้ซ​ ึ่งร​ ะบบเ​ศรษฐกิจแ​ บบท​ ุนนิยม และเ​ป็นไ​ปไ​ด้ที่จ​ ะต​ ้องม​ ีก​ ารล​ งโทษน​ ายทุนบ​ างค​ นเ​พื่อแ​ สดงใ​ห้เ​ห็นว​ ่า​
รัฐ​นั้นม​ ี​ความช​ อบธ​ รรม​เพียงพ​ อ และ​จะ​สามารถ​รักษาร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​แบบท​ ุนนิยม​ต่อไ​ป​ได้38

       การ​ตีความ​ว่า​รัฐ​ต้อง​รับ​ใช้​ชนชั้น​ปกครอง​โดย​ไม่​แยก​ระหว่าง​ระบบ​เศรษฐกิจ​ที่​ชนชั้น​ปกครอง​มุ่ง​รักษา​นั้น
เป็นการ​ตีความ​ที่​มี​อิทธิพล​อย่าง​ยิ่ง​ต่อ​การ​ปฏิวัติ​รัสเซีย​ใน ค.ศ. 1917 เพราะ​การ​ตีความ​ใน​ลักษณะ​นี้​ทำให้​เห็น​ว่า​รัฐ​
ยอ่ มต​ อ้ งร​ บั ใ​ชช้​ นชั้นป​ กครองเ​สมอ และเ​มื่อป​ ระกอบก​ บั เ​หตุการณเ์​ศรษฐกจิ ต​ กต่ำ การด​ ำเนนิ น​ โยบายท​ ีผ​่ ิดพ​ ลาดอ​ ยา่ ง​
ต่อเ​นื่องข​ องร​ ัฐบาลข​ องพ​ ระเจ้า​ซาร์น​ ิโ​คล​ าสท​ ี่ 2 (Nicholas II, ค.ศ. 1894-1917) รัฐบาล​ของ​จักรวรรดิ​รัสเซีย​ยังม​ ุ่ง​ก่อ​
สงคราม​อย่าง​ต่อเ​นื่อง ละทิ้งแ​ ละล​ ะเลยค​ วามเ​ป็นอ​ ยู่​ของ​ประชาชนส​ ่วนใ​หญ่​ของ​ประเทศ แต่ข​ ้อ​จำกัด​ของก​ ารต​ ีความ​
รัฐใ​นฐ​ านะเ​ครื่องม​ ือข​ องช​ นชั้นป​ กครองใ​นล​ ักษณะน​ ี้ค​ ือ หากร​ ัฐท​ ำห​ น้าที่ใ​นล​ ักษณะด​ ังก​ ล่าวแ​ ต่เ​พียงอ​ ย่างเ​ดียว เพราะ​
เหตุ​ใดป​ ระเทศท​ ุนนิยมต​ ะวันต​ ก​อื่นๆ จึงส​ ามารถ​รักษาไ​ว้​ซึ่งร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​แบบท​ ุนนิยม​ไว้​ได้

       การต​ ีความ​ว่า​รัฐต​ ้องพ​ ยายาม​รักษา​ไว้ซ​ ึ่งร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​หรือค​ วาม​สัมพันธ์​ทาง​เศรษฐกิจ​ที่ช​ นชั้น​ปกครองไ​ด​้
ประโยชนเ์​กดิ ข​ ึน้ เ​พือ่ แ​ กป้​ ัญหาข​ องก​ ารต​ คี วามใ​นล​ กั ษณะแ​ รก เมือ่ ร​ ฐั ท​ ำห​ นา้ ทีเ​่ ปน็ เ​ครื่องม​ อื ข​ องช​ นชั้นป​ กครองท​ งั้ หมด
ไมไ่​ดเ้​ป็นแ​ ตเ่​พียงค​ นใ​ดค​ นห​ นึ่ง ในแ​ ง่น​ ีร้​ ัฐจ​ ึงม​ รี​ ะยะห​ ่างพ​ อสมควร ไม่จ​ ำเป็นต​ ้องท​ ำห​ น้าที่เ​ป็นเ​ครื่องม​ ือท​ ีจ่​ ะต​ ้องร​ ับใ​ช​้
ชนชั้นป​ กครอง​ผู้ห​ นึ่งผ​ ู้ใ​ดเ​ป็นการเ​ฉพาะ นอกจากน​ ี้ย​ ังท​ ำให้ร​ ัฐส​ ามารถท​ ี่จ​ ะล​ งโทษ​คนใน​ชนชั้นป​ กครองบ​ าง​คนไ​ด้อ​ ีก​
ด้วย หากก​ าร​ลงโทษน​ ั้นจ​ ะ​ทำให้​ระบบ​เศรษฐกิจ​ที่​ชนชั้น​ปกครอง​ได้​ประโยชน์​นั้นม​ ี​ความม​ ั่นคง​ยิ่ง​ขึ้น

การส​ ลาย​ตวั ​ของร​ ฐั

       ตาม​แนวคิด​แบบ​มาร์​ก​ซิ​สม์​นั้น หาก​รัฐ​ทำ​หน้าที่​เป็น​เครื่อง​มือ​ของ​ชนชั้น​ปกครอง​แล้ว รัฐ​จะ​สลาย​ตัว​ได้​ใน​
เงื่อนไข​ใด คำ​ตอบ​ของ​เรื่อง​นี้​คือ เมื่อ​การ​ต่อสู้​ทาง​ชนชั้น​ยุติ​ลง เมื่อ​ปราศจาก​ชนชั้น​แล้ว รัฐ​ใน​ฐานะ​เครื่อง​มือ​ก็​จะ
ส​ ลายต​ วั ต​ ามไ​ปด​ ว้ ย แลว้ ค​ ำถามท​ จี​่ ะเ​กดิ ข​ ึน้ ต​ ามก​ ค​็ อื ชนชัน้ จ​ ะส​ ิน้ ส​ ดุ ล​ งท​ ใี​่ ด กต​็ อ่ เ​มือ่ เ​ทคโนโลยข​ี องม​ นษุ ยม​์ ค​ี วามเ​จรญิ
​เพียง​พอ​จน​ทำให้​มนุษย์​ไม่​ต้อง​มี​การ​แบ่ง​งาน​กัน​ทำ​ตาม​ความ​ถนัด และ​ไม่​ต้อง​เกิด​ความ​แตก​ต่าง​ทาง​ทักษะ​ระหว่าง​
บุคคล ซึ่ง​เรื่อง​นี้​เป็น​เพียง​การ​คาด​คะเน​ถึง​จินตนาการ​ของ​โลก​ที่​สันติสุข​ใน​อนาคต​ที่​ยัง​ไม่​เคย​เกิด​ขึ้น เนื่องจาก
ป​ ระเทศ​ที่ทำการป​ ฏิวัติ​สังคมนิยมน​ ำ​แนวคิด​แบบ​มาร์ก​ ซ​ ิส​ ม์ม​ า​ใช้ป​ ฏิบัติจ​ ริง​กลับ​ปรากฏว​ ่า​เกิดร​ ัฐเ​ผด็จการโ​ดยช​ นชั้น​
กรรมาชีพ ซึ่งถ​ ือเ​ป็นร​ ะยะเ​ปลี่ยน​ผ่าน​ที่ร​ อ​ให้​เทคโนโลยี​มีค​ วามเ​จริญ​เพียงพ​ อแล้ว รัฐ​จะ​ถูก​ดูดก​ ลืนก​ ลับ​ไป​ยัง​สังคม​
และส​ ลาย​ตัวไ​ป​ในท​ ี่สุด แต่​ระยะ​เปลยี่ น​ผ่านม​ ี​ระยะ​เวลาท​ ี่ย​ าวนาน จน​ในท​ ี่สุด​แล้วป​ ระเทศ​สังคมนิยมท​ ี่​อาศัย​แนวค​ ิด​
มาร์ก​ ​ซิ​สม์​อย่างส​ หภาพโ​ซเวียต​ก็​สลาย​ตัวก​ ลับ​ไป​เป็น​ประเทศ​รัสเซีย​ที่ม​ ี​ระบบเ​ศรษฐกิจแ​ บบ​ทุนนิยม หรือ​สาธารณรัฐ​
ประชาชนจ​ ีนก​ ็ต​ ้อง​รับร​ ะบบ​เศรษฐกิจ​แบบ​ทุนนิยม​มา​ใช้​อย่างเ​ต็มร​ ูปแ​ บบใ​นป​ ัจจุบัน

         37 ตัวอย่าง​ที่​ชัดเจน​ที่สุดค​ ือ V. I. Lenin. The State and Revolution, Peking: Foreign Language Press, 1970, p. 13-16.
         38 โปรดด​ ู Antonio Gramsci. Selections from the prison notebooks of Antonio Gramsci, ed. and translated by Quintin
Hoare and Geoffrey Nowell Smith. New York, Lawrence & Wishart, 1971. และ Louis Althusser. Essays on ideology, London:
Verso, 1971.

                              ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40