Page 34 - สังคมโลก
P. 34
3-32 สังคมโลก
ตามข ้อมูลท ี่ต นม ี และส ิ่งท ี่ต ามม าค ือเกิดค วามแ ตกต ่างในก ารต ีความ และผ ลข องค วามแ ตกต ่างในก ารต ีความอ าจจ ะ
แสดงให้เห็นได้ในแ นวคิดเรื่องร ัฐเอง
แต่ก่อนที่จะทำความเข้าใจถึงรัฐนั้น เพื่อให้เกิดความกระจ่างควรจะทำความเข้าใจความคิดพื้นฐานของ
แนวคิดมาร์กซิสม์เสียก่อน โดยสังเขป แนวคิดมาร์กซิสม์ให้ความสำคัญกับปัจจัยทางเศรษฐกิจและผลของการ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อความคิด จิตใจ การกระทำ และสถาบันทางสังคมและการเมืองที่มนุษย์
ก่อตั้งขึ้น รวมถึงผลของความคิดและการกระทำ และสถาบันต่างๆ ของมนุษย์ที่มีผลต่อปัจจัยทางเศรษฐกิจ โดย
ให้ความสำคัญกับปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นหลัก ในแง่นี้แนวคิดมาร์กซิสม์จึงถูกเรียกว่าเป็นแนวคิดแบบวัตถุนิยม
(Materialism) เพราะใหค้ วามส ำคัญก ับส ภาพท างว ัตถหุ รือก ิจก รรร มท างเศรษฐกิจข องม นุษยว์ ่าเป็นส ิ่งท ีเ่ป็นจ ริง และ
ทำใหเ้ กดิ ก ารเปลีย่ นแปลง โดยป ฏเิ สธท จี่ ะใหค้ วามส ำคญั ก บั ค วามค ดิ ว า่ เปน็ ส ิง่ ท เี่ ปน็ จ รงิ แ ละท ำใหเ้ กดิ ก ารเปลีย่ นแปลง
หรือที่เรียกว ่าอุดมคตินิยม (Idealism)
การให้ความสำคัญกับปัจจัยทางเศรษฐกิจของแนวคิดมาร์กซิสม์จะยิ่งเด่นชัดเมื่อพิจารณาถึงคำสำคัญ
ในแนวคิดและกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งสิ้น เช่น ปัจจัยการผลิต (mean of production) ชนชั้น (class) เป็นต้น
โดยแ ต่ละค ำม ีค วามห มายด ังต ่อไปน ี้ ปัจจัยก ารผ ลิตค ือส ิ่งท ี่ป ระกอบร วมก ันแ ล้วท ำให้ก ารผ ลิตห รือก ารเปลี่ยนส ภาพ
วัตถุดิบให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นได้ โดยปัจจัยการผลิตประกอบด้วย แรงงาน ที่ดิน ทุน และผู้ประกอบการ
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงจากส ภาพว ัตถุดิบเป็นผลิตภัณฑ์สามารถแ สดงให้เห็นได้ดังนี้ นายกำยำใช้แรงงานขุดต อไม้
และแกะสลักจนกลายเป็นตู้ นายกำยำจึงเป็นผู้ใช้ปัจจัยการผลิตคือ แรงงาน แปรสภาพวัตถุดิบคือ ตอไม้ จนกลาย
เป็นผ ลิตภัณฑ์ค ือ ตู้ ในแ ต่ละช ่วงเวลา ปัจจัยการผลิตแ ต่ละด ้านมีความส ำคัญไม่เท่ากับขึ้นอยู่เทคโนโลยีในช่วงน ั้น
ที่ทำให้ปัจจัยการผลิตใดสำคัญ โดยการแบ่งยุคสังคมแต่ละช่วงเวลาจะแบ่งว่าสังคมช่วงใดปัจจัยการผลิตแบบใดที่
มีความสำคัญ ตัวอย่างเช่น ในสังคมทาส แรงงานจะเป็นป ัจจัยการผลิตที่สำคัญ ในขณะท ี่สังคมฟิวดัล ที่ดินจะเป็น
ปัจจัยก ารผลิตที่ส ำคัญ ในป ัจจุบัน ในส ังคมทุนนิยม จะมีทุนเป็นป ัจจัยก ารผ ลิตที่ส ำคัญ
คำว่าชนชั้นหมายถึง กลุ่มคนที่ถือครองปัจจัยการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง ตราบเท่าที่ยังมีชนชั้นก็จะเกิดสิ่ง
ที่เรียกการต่อสู้ทางชนชั้น (class struggle) ระหว่างชนชั้นปกครองและชนชั้นที่ถูกปกครอง ซึ่งจะเป็นคู่ขัดแย้งกัน
เสมอ ทั้งส องฝ ่ายต ่างต ่อสู้ก ันเพื่อผ ลป ระโยชนท์ างเศรษฐกิจ โดยในส ังคมท าสเป็นการต ่อสูร้ ะหว่างช นชั้นน ายท าสแ ละ
ทาส สังคมฟ ิวดัลเป็นการต่อสู้ร ะหว่างชนชั้นเจ้าท ี่ดินและไพร่ติดที่ดิน (serf) และสังคมท ุนนิยมเป็นการต ่อสู้ระหว่าง
ชนชั้นนายทุนกับแรงงาน ชนชั้นปกครองจะพยายามรักษาอำนาจทางการปกครองของตนไว้โดยอาศัยอำนาจรัฐและ
อุดมการณ์35 ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้ร ัฐในแ นวคิดมาร์กซิสม์มีม ุมมองต่อรัฐในฐ านะข องเครื่องมือของช นชั้นท ี่ม ีอ ำนาจ
ปกครองในก ารจ ัดการผ ลป ระโยชนข์ องต น มารก์ ซแ์ ละเองเกลสไ์ดก้ ล่าวถ ึงบ ทบาทข องร ัฐส มัยใหมไ่ดด้ ังนี้ “การจ ดั การ
ของรัฐสมัยใหม่เป็นแต่เพียงคณะกรรมการเพื่อจัดการผลประโยชน์ร่วมกันของชนชั้นกระฎุมพีท้ังมวลเท่าน้ัน”36
การจ ัดร ะเบียบกิจกรรมของคนในส ังคมเพื่อให้ช นชั้นปกครองสามารถร ักษาผลประโยชน์ท างเศรษฐกิจของชนชั้นต น
ต่อไปได้ รัฐในสังคมที่ม ีชนชั้นจึงม ีจุดม ุ่งห มายเพื่อรักษาไว้ซึ่งอำนาจข องชนชั้นปกครองในสังคมนั้นๆ
35 โปรดด ู Karl Marx. “Preface to a Contribution to the Critique of Political Economy,” in Karl Marx and Frederick
Engels Selected Works, Moscow: Progress, 1975, p. 182.
36 Karl Marx and Frederik Engels, “Manifesto of the Communist Party,” ibid., p. 37. ชนชั้นกระฎุมพี (bourgeoisie) หรือ
อีกน ัยหนึ่งค ือช นชั้นน ายทุน
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช