Page 152 - การผลิตสัตว์
P. 152

11-24 การผลิตสัตว์

  กิจกรรม 11.2.1
         จงบ​ อกถ​ ึงค​ วามส​ ำคัญ​และ​ประโยชน​์ของ​การ​เล้ยี งน​ ก​กระทา

  แนวต​ อบก​ จิ กรรม 11.2.1
         ความส​ ำคัญแ​ ละป​ ระโยชน​ข์ องก​ ารเ​ล้ยี งน​ กก​ ระทา​มี 4 ประการ คอื
         1. 	 ไขน​่ กก​ ระทา เปน็ ​อาหารท​ ี​่ม​ีคณุ ค่าม​ าก โดย​เฉพาะ​เป็นแ​ หลง่ ข​ อง​โปรตีน
         2. 	 เน้ือ​นก​กระทา ได้​จาก​ทั้ง​นก​กระทา​เพศ​ผู้​และ​เพศ​เมีย​ท่ี​ถูก​คัด​ออก​จาก​นก​ไข่ เป็น​แหล่ง​อาหาร​

  โปรตีน
         3. 	 สัตว์​ทดลอง​ทางว​ ิทยาศาสตร์
         4. 	 มลู เป็นส​ งิ่ ท​ ​่ีเหลือ​ท้งิ จ​ ากก​ าร​เลี้ยง ใช​้เป็น​ปุย๋ ​เพือ่ ​ใสต​่ น้ ไม้

เรื่อง​ที่ 11.2.2
พันธ์นุ​ ก​กระทา

       การ​เลี้ยง​นก​กระทา​ใน​ประเทศไทย เดิม​มี​การ​เลี้ยง​นก​กระทา​พันธุ์​พื้น​เมือง แต่​ด้วย​มี​ข้อ​จำกัด​ที่​ให้​ปริมาณ​
ไข่แ​ ละ​ให้​เนื้อน​ ้อย จึงไ​ด้ม​ ี​การนำ​เข้า​นก​กระทา​พันธุ์​ญี่ปุ่น (Japanese Quail) โดย​นายร​ วม สง่า​เมือง เป็น​บุคคล​แรก
​ที่​สั่ง​นำ​เข้า​มา​เพื่อ​เลี้ยง​เป็นการ​ค้า​ใน​ช่วง พ.ศ. 2490–2498 เนื่องจาก​นก​กระทา​ญี่ปุ่น​ให้​ไข่​ดก ไข่​เร็ว เลี้ยง​ง่าย
แข็ง​แรง มี​ปัญหาเ​รื่องโ​รค​น้อย สำหรับ​นก​กระทา​ไข่​ที่​ถูก​คัด​ทิ้งแ​ ละ​นกก​ ระทาเ​พศ​ผู้จ​ ะถ​ ูกเ​ลี้ยงเ​ป็นน​ ก​กระทา​เนื้อ​เพื่อ​
การ​บริโภค

ลกั ษณะ​ทั่วไป​ของ​นกก​ ระทาญ​ ีป่ ุ่น

       นก​กระทา​ญี่ปุ่น เป็น​นก​กระทา​พันธุ์​ที่​เลี้ยง​เพื่อ​เอา​ไข่​ขาย​เป็นการ​ค้า มี​ขนาด​ตัว​เท่ากับ​กำปั้น​ขนาด​กลาง
สี​ขน​ลายน้ำ​ตาล​เข้ม เมื่อ​ลูก​นก​มีอายุ 3 สัปดาห์ จะ​สามารถ​เห็น​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่าง​เพศ​ผู้​และ​เพศ​เมีย​ได้ โดย
​นก​กระทา​เพศ​ผู้​จะ​มี​สี​และ​ลวดลาย​ของ​ขน​บริเวณ​คอ​ถึง​หน้าอก​เป็น​สี​น้ำตาล​ปน​แดง หรือ​สี​น้ำตาล​ปน​ดำ ส่วน​เพศ
​เมีย​มี​สี​ขน​บริเวณ​คอ​เป็น​สี​น้ำตาล​อ่อน อาจ​มี​ลายน้ำ​ตาล​ปน​เทา หรือ​น้ำตาล​ปน​ดำ นอกจาก​นี้​ใน​นก​เพศ​ผู้ ที่​บริเวณ​
ก้น​จะ​เป็นก​ระ​เปาะ​พอง เพราะ​มี​ต่อม​ผลิต​น้ำ​เชื้อ ซึ่ง​ถ้า​อยู่​ใน​ช่วง​วัย​เจริญ​พันธุ์ เมื่อ​บีบ​ค่อยๆ จะ​มี​น้ำ​สี​ขาว​เป็น​ฟอง​
ออกม​ า และเ​มื่อป​ ลิ้น​ทวาร​จะเ​ห็น​ติ่งเ​ล็กๆ

                             ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157