Page 21 - การผลิตสัตว์
P. 21
การผลิตโคเนื้อและกระบือ 8-19
ตำแหน่งการวางของเท้าที่ดี พิจารณาได้จากการลากเส้นสมมุติขึ้น คือ ถ้าลากเส้นตรงจากกระดูกก้นกบมา
ตั้งฉากกับพ ื้น เส้นต รงนี้ควรแตะกับด ้านหลังของเข่า (Hock) และเกือบแตะก ับต ิ่งก ีบ (Dew claw) ไม่ควรไปอ ยู่ข้าง
หน้าห รืออยู่ข้างหลัง
กระดูกก ้นกบ กระดูกก้นกบ กระดูกก ้นกบ
ตำแหน่งการวางเท้าที่ถูกต้อง ตำแหน่งการวางเท้าที่ตำแหน่งเท้าอยู่ ตำแหน่งการวางเท้าที่ตำแหน่งเท้าอยู่
ข้างหน้ามากเกินไป ข้างหลังมากเกินไป
ภาพท ี่ 8.16 ตำแหน่งก ารวางของเทา้ โคเมอ่ื พ ิจารณาจ ากด า้ นขา้ ง
เมื่อท ราบถ ึงพ ันธุ์โคเนื้อแ ละล ักษณะโคเนื้อที่ด ีแล้ว การจ ะเลือกเลี้ยงโคเนื้อพ ันธุ์ใด ก็ใช้ห ลักข ้างต ้นป ระกอบ
การพิจารณา เพื่อให้ได้โคเนื้อที่ม ีการเจริญเติบโตเร็ว และมีป ระสิทธิภาพก ารใช้อาหารด ี
2.4 การประมาณน้ำหนักจากความยาวของรอบอก ประมาณน้ำหนักจากการวัดความยาวของรอบอก เป็น
วิธีก ารห นึ่งท ี่ส ามารถใช้ป ระมาณน ้ำห นักโค สามารถป ระมาณน ้ำห นักโคได้ท ั้งโคเนื้อแ ละโคนม (ซึ่งม ักใช้ในก รณีท ี่ไม่มี
เครื่องชั่งน ้ำหนัก) มีว ิธีก ารคือ วัดความย าวร อบอก บริเวณซ อกขาห น้า จากน ั้นนำไปป ระมาณน ้ำหนักโคดังก ล่าวตาม
สภาพของร ่างกาย โดยจ ำแนกได้ 3 ลักษณะค ือ
2.4.1 สภาพอ้วน หมายถึง ไม่เห็นกระด ูกซี่โครงและก ระดูกสันหลัง
2.4.2 สภาพปานกลาง หมายถึง เห็นก ระดูกซี่โครงเล็กน้อย แต่ไม่เห็นก ระดูกส ันหลัง
2.4.3 สภาพผอม หมายถึง เห็นกระดูกซี่โครงชัดเจน และเห็นกระดูกสันห ลัง
หลงั จ ากน ั้นก ท็ ำการว ดั ร อบอ กโค แลว้ น ำค วามย าวร อบอ กโคม าเทียบเปน็ น ำ้ ห นักด ังแสดงต ารางในภ าคผ นวก
2.5 การตรวจโรคติดต่อ นอกจากที่กล่าวมาแล้วสิ่งที่สำคัญอีกสิ่งหนึ่งในการคัดเลือกโคคือ โคที่คัดเลือก
เข้าฟาร์มนั้นจะต้องไม่ป่วยเป็นโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการตรวจสอบ โดยดูจากลักษณะอาการ
ที่โคแสดงออก เมื่อนำโคเข้าฟาร์มใหม่ๆ ต้องมีการก ักโรคเพื่อตรวจสอบดูว่าโคตัวน ั้นแ สดงอ าการห รือไม่ หากพบว่า
ป่วยจะต้องทำการรักษาให้หายเสียก่อนจึงจะนำเข้าฟาร์มเลี้ยงต่อไป โรคบางโรคไม่สามารถรักษาหายได้หรือรักษา
ยากเพราะไม่คุ้มก ับค ่าใช้จ ่ายในการรักษาจ ำเป็นจะต ้องคัดทิ้ง โรคเหล่าน ี้มีอยู่หลายโรค แต่ที่สำคัญ ได้แก่ โรคแท้ง-
ติดต่อ ซึ่งจะต้องม ีก ารเจาะเลือดแล้วน ำไปตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ โรคแท้งต ิดต่อนี้หากเกิดในโคเพศเมียแ ล้วจะ
ทำให้เกิดก ารแ ท้งล ูก และแ พร่เชื้อต ิดต่อท างร ะบบส ืบพันธุ์ไปย ังโคต ัวอ ื่นๆ ได้ ส่วนในโคเพศผ ู้อ าจไม่แ สดงอ าการม าก
นัก โรคน ี้เป็นโรคที่ส ำคัญโรคหนึ่งท ี่สร้างค วามเสียห ายอ ย่างมาก ดังน ั้น หากจ ะคัดเลือกโคเข้าเลี้ยงภายในฟาร์มโดย
เฉพาะพ ่อแ ม่พันธุ์ค วรตรวจส อบให้แน่ใจเสียก ่อน โดยการแ จ้งเจ้าห น้าที่ปศุสัตว์มาทำการต รวจส อบ
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช