Page 25 - การผลิตสัตว์
P. 25
การผลิตโคเนื้อและกระบือ 8-23
1.4.2 การล้วงตรวจการต้ังท้อง การตรวจท้องเพื่อดูว่าแม่โคได้รับการผสมติดจนตั้งท้องจริงหรือ
ไม่นั้น สามารถทำได้โดยการคลำตรวจดูมดลูกและรังไข่ผ่านทางทวารหนักตั้งแต่แม่โคตั้งท้องได้ 2-3 เดือนขึ้นไป
ซึ่งผู้ที่ทำการล้วงต รวจท ้องน ี้จ ะต ้องเป็นผู้ท ี่ม ีทักษะช ำนาญและป ระสบการณ์
1.4.3 การต รวจห าร ะดบั ฮ อรโ์ มนในเลอื ดห รอื ในน ำ้ นม ก็ส ามารถบ อกไดว้ ่าต ั้งท ้องห รือไม่ แต่ว ิธนี ีต้ ้อง
อาศัยห ้องป ฏิบัติก ารในการต รวจ จึงย ังไม่เหมาะสมในก ารนำไปใช้ก ับสภาพก ารเลี้ยงท ั่วไป
หลังจากตรวจการตั้งท้องแล้วหากพบว่ามีแม่โคที่ไม่ท้อง ควรมีการคัดแยกหรือผสมใหม่อีกครั้งในการเป็น
สัดค รั้งต่อไป หรือห ากพ บว ่าแม่โคต ัวใดผสมไม่ติดบ ่อยครั้ง ควรม ีการตรวจส อบห าส าเหตุ หากพ บความผ ิดปกติถ ้า
หากรักษาได้ควรรีบทำการรักษา แต่ถ้าหากรักษาไม่ได้ก็ควรคัดออกจากฝูงหรือคัดทิ้ง ส่วนแม่โคที่ตั้งท้องแล้วควร
เอาใจใส่เป็นพิเศษ ควรให้แม่โคได้รับอาหารหยาบคุณภาพดีให้กินอย่างเต็มที่เป็นหลัก แม่โคจะใช้ระยะเวลาตั้งท้อง
นานเฉลี่ยป ระมาณ 282-283 วันเช่นเดียวก ับโคนม
2. การจัดการเล้ยี งแ มโ่ คร ะยะอ ้มุ ท ้อง
ในระหว่างแม่โคอุ้มท้อง แม่โคควรได้รับสารอาหารอย่างเหมาะสมเพียงพอต่อการการอุ้มท้องและเพื่อสร้าง
น้ำนมให้ลูกกินหลังจากคลอด ดังนั้น ถ้าแม่โคได้รับการเอาใจใส่เลี้ยงดูอย่างดีและได้รับอาหารอย่างเพียงพอ แม่โค
จะมีสภาพร่างกายสมบูรณ์ ซึ่งจะส่งผลต่อทำให้ลูกโคจะมีเปอร์เซ็นต์รอดจนถึงอายุหย่านม และมีน้ำหนักแรก
คลอดสูง ในทางก ลับก ันหากแม่โคข าดการเอาใจใส่ได้รับอ าหารไม่เพียงพ อก็จ ะส่งผ ลทำให้ลูกโคอ่อนแอตัวเล็ก หรือ
มีน ้ำหนักแรกค ลอดต่ำ ทำให้เปอร์เซ็นต์การตายของลูกโคก่อนห ย่านมม ากขึ้น โดยท ั่วไปในระยะแรกข องก ารตั้งท ้อง
ควรให้แม่โคได้รับอาหารหยาบเป็นหลัก และถ้าแม่โคมีสภาพร่างกายสมบูรณ์ดีก็ไม่ต้องเสริมอาหารข้น แต่หากพบ
ว่าแม่โคมีสภาพร่างกายผอมไม่สมบูรณ์โดยเฉพาะในฤดูแล้งที่ขาดแคลนอาหารหยาบคุณภาพดี จำเป็นจะต้องมีการ
เสริมอาหารข้นที่มีโปรตีนไม่ต่ำกว่า 14 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณวันละ 1-2 กิโลกรัมต่อตัว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกาย
และความสมบูรณ์ของแม่โค สำหรับแม่โคที่เลี้ยงแบบปล่อยแปลงหญ้า ควรจัดให้มีร่มไม้หรือสร้างเป็นเพิงบังแดด
ให้โคได้เป็นที่พักร้อน รวมทั้งต้องมีน้ำให้โคกินได้สะดวกด้วยความต้องการอาหารหยาบของแม่โคในช่วงอุ้มท้องจะ
แตกต ่างก ันต ามค วามเจริญเติบโตข องล ูกโคในท ้องค ือ ในช ่วง 3 เดือนแ รกข องก ารอ ุ้มท ้อง แม่โคย ังค งม ีค วามต ้องการ
ปกติ 3 เดือนต ่อม าจ ะมีค วามต้องการอ าหารเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อย และในช่วง 3 เดือนสุดท้ายแม่โคจะต้องได้รับอาหาร
มากขึ้น เนื่องจากลูกโคมีการเจริญเติบโตมากแล้ว สำหรับกรณีที่เลี้ยงโคหลายตัว อาจแยกแม่โคเลี้ยงตามระยะของ
การอ ุ้มท้อง หรือค วามต้องการอ าหาร เช่น แม่โคอ ุ้มท้องแ ต่ผอมแยกเลี้ยงไว้รวมก ันแล้วให้อาหารคิดเป็นน ้ำห นักแ ห้ง
ประมาณวันละ 2.5 เปอร์เซ็นต์ของน ้ำห นักตัว และอ ีกกลุ่มหนึ่งแม่โคอุ้มท้องท ี่ร ่างกายสมบูรณ์ก็แ ยกเลี้ยงไว้รวมก ัน
แล้วให้อ าหารค ิดเป็นน้ำหนักแ ห้งป ระมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ของน ้ำห นักตัว สำหรับก รณีแม่โคท ี่อุ้มท้องม ีล ูกติดควรให้ได้
รับอ าหารเพิ่มม ากข ึ้น ปริมาณอ าหารข ้นท ี่เสริมให้แ ก่แ ม่โคในก รณีแ ปลงห ญ้าไม่ส มบูรณ์ อาหารค วรม ีโปรตีนไม่ต ่ำก ว่า
16 เปอร์เซ็นต์ ให้ว ันล ะ 1.5 กิโลกรัมต ่อตัว
อย่างไรก ็ตาม หากให้อ าหารข ้นเสริมในป ริมาณท ี่ม ากอ าจท ำให้ล ูกในท ้องต ัวใหญ่เกินป กติ แม่โคอ ้วนม ีไขม ัน
สะสมอยู่ในช ่วงกระดูกเชิงกรานมาก ทำให้เปลืองอาหารโดยไม่จำเป็น อาจทำให้ค ลอดลูกยากด ้วย
การจัดการด้านอื่นๆ ในระยะแม่โคท้องนี้ ควรระมัดระวังไม่ให้แม่โคได้รับการกระทบกระเทือนต่อการ
อ ุ้มท ้อง เช่น ไลต่ ้อนใหโ้คต ื่นก ระโดดข ้ามค นู ้ำห รือผ ่านช ่องแ คบๆ การจ ับโคล ้มเพื่อท ำว ัคซีนห รือช ั่งน ้ำห นัก ควรเปลี่ยน
เป็นจับโคตรึงในซ อง นอกจากนี้ก ารใช้ย าบางชนิดต ้องร ะวัง เพราะยาบ างช นิดอาจท ำให้โคแท้งลูกได้ หากไม่แ น่ใจควร
ปรึกษาสัตวแพทย์ก่อน
ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช