Page 22 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 22

6-20 การจ​ ัดการก​ ารผ​ ลิตไ​ม้​ดอกไม้​ประดับ​เชิง​ธุรกิจ​

ได้แก่ ศูนย์พ​ ัฒนาโ​ครงการห​ ลวงป​ ่าเ​มี่ยง ศูนย์พ​ ัฒนาโ​ครงการห​ ลวงห​ ้วยน​ ้ำร​ ิน และศ​ ูนยพ์​ ัฒนาโ​ครงการห​ ลวงห​ ้วยโ​ป่ง
รวมม​ ีเ​กษตรกร​เข้า​ร่วม​โครงการ 36 ราย มีพ​ ื้นที่​ปลูก​รวม 47 ไร่​ โดย​ทางศ​ ูนย์ฯ​ จะ​เป็นผ​ ู้​ให้ค​ ำแ​ นะนำก​ ารป​ ลูก​เลี้ยง
ปัจจัย​การ​ผลิต และ​รับ​ซื้อ​ผลผลิต​จาก​เกษตรกร​ตาม​ที่​ได้​ทำ​ข้อ​ตกลง​ไว้ หาก​ผลิต​ได้​มากกว่า​ที่​กำหนด​เกษตรกร​จะ​
จำหน่ายใ​ห้​กับ​ผู้ค​ ้า​ดอกไม้ส​ ด​เพื่อจ​ ำหน่าย​ภายใน​และต​ ่าง​ประเทศ

       ปริมาณ​การ​ใช้ใบ​เฟิร์น​ใบ​หนัง​ภายใน​ประเทศ​นั้น​ไม่​ได้​มี​การ​รวบ​รวม​ข้อมูล​ที่แท้​จริง​ไว้​ว่า​มี​ปริมาณ​การ​ใช้​
เท่าใด แต่​เพื่อ​ให้​เห็น​ปริมาณ​และ​มูลค่า ของ​การ​ใช้​เฟิร์น​ใบ​หนัง จึง​ขอ​ยก​ตัวอย่าง​ปริมาณ​และ​มูลค่า​เฟิร์น​ใบ​หนัง​ที่​
มูล​นิธิฯ รับ​ซื้อ​จาก​เกษตรกร​ใน​พื้นที่​ส่ง​เสริม​ของ​มูลนิธิ​โครงการ​หลวง เพื่อ​มา​จำหน่าย​ใน​รูป​แบบ​ของ​ใบ​สด ตั้งแต่​ปี
พ.ศ. 2547-2551 ดังแ​ สดง​ใน​ตาราง​ที่ 6.3

  ตารางท​ ี่ 6.3 แสดงป​ ริมาณแ​ ละ​มูลคา่ ​การร​ ับ​ซ้อื ​เฟิรน์ ใ​บ​หนัง​จากเ​กษตรกรใ​นจ​ งั หวัดเ​ชยี งราย ของม​ ูลนิธิโ​ครงการ​หลวง

            ปี               ปริมาณ (ใบ)                                    มลู ค่า (บาท)

          2547               1,207,925                                        978,291
          2548               1,536,800                                      1,153,345
          2549               1,231,510
          2550               1,264,710                                        909,007
          2551               1,443,480                                        893,356
                                                                            1,032,613
	
ที่มา: มูลนิธิ​โครงการ​หลวง

       ปัจจุบันไ​ด้​มี​การ​พยายาม​ทำการป​ รับปรุง​พันธุ์​และห​ าเ​ฟิร์นพ​ ันธุ์ใ​หม่ และ​เพื่อใ​ห้​ได้เ​ฟิร์นท​ ี่​มี​คุณสมบัติ​ที่​ดี​ใน​
การ​เป็น​ไม้​ตัด​ใบ และ​มี​ความ​แปลก​ใหม่ แต่​ใน​ปัจจุบัน​ยัง​ไม่มี​เฟิร์น​ชนิด​ใด​ที่​มี​คุณสมบัติ​ที่​ดี​ใน​การ​เป็น​ไม้​ตัด​ใบ​มา​
เทียบก​ ับ​เฟิร์นใ​บห​ นังไ​ด้	

2. 	ลักษณะ​ของเ​ฟิรน์ ​ใบ​หนงั

       เฟิร์น​หนัง หรือ​เฟิร์นใ​บ​หนัง มีชื่อว​ ิทยาศาสตร์​ว่า Rumohra adiantiformis (Forst.f.) Ching อยู่​ใน​วงศ์
Dryopteridaceae มี​ลักษณะ​ทั่วไป​คล้าย​เฟิร์น​นาคราช และ​เฟิร์น​โพ​ลี​สติ​คกัม ลำต้น​เป็น​เหง้า​ทอด​เลื้อย ปกคลุม​
ด้วย​เกล็ด​สี​น้ำตาล​อม​แดง ก้าน​ใบ​ใหญ่​แข็ง​แรง มี​เกล็ด​ปกคลุม​บริเวณ​ติด​กับ​เหง้า ใบ​เป็น​ใบ​ประกอบ​แบบ​ขน​นก 3
ชั้น เป็นแ​ ผ่นห​ นา รูป​สามเหลี่ยม ปลายใ​บ​ค่อน​ข้างแ​ ข็ง ผิว​ใบด​ ้าน​บนส​ ี​เขียวเ​ข้ม มี​ไขเ​คลือบ​เป็นม​ ัน เฟิร์นใ​บห​ นัง ม​ี
การกร​ ะ​จาย​พันธุ์ไ​ป​ในห​ ลาย​ทวีป​ทั่วโ​ลก ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อเมริกาใต้ และ​แอฟริกาใต้ ทำให้​มี​ลักษณะท​ ี่​
แตกต​ ่าง​กัน คือ ต้น​ที่​พบ​ในท​ วีป​ออสเตรเลียแ​ ละน​ ิวซีแลนด์​จะ​เป็นเ​ฟิร์นอ​ ิงอ​ าศัย โดยพ​ บไ​ด้ต​ ามล​ ำต้น​กูดต​ ้น มีเ​หง้า​
ยาว แต่​สำหรับ​เฟิร์นใ​บ​หนัง​ที่​พบใ​น​แอฟริกา และอ​ เมริกาใต้ จะ​มี​ใบข​ นาด​ใหญ่ และเ​หง้า​มี​ลักษณะอ​ วบ​ล่ำเ​ลื้อย​ทอด​
ไป​ตามพ​ ื้นห​ รือ​ใต้ดิน

	

                             ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27