Page 18 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 18

6-16 การ​จัดการก​ าร​ผลิต​ไม้ด​ อกไม้ป​ ระดับเ​ชิงธ​ ุรกิจ​

เรอ่ื งท​ ่ี 6.2.1
สถานการณ​ก์ าร​ตลาด​ของเ​ฟิร์น​ตัด​ใบ

       เฟิร์นเ​ป็นกล​ ุ่มพ​ ืชโ​บราณ​ซึ่ง​มีว​ ิวัฒนาการ​มาอ​ ย่าง​ช้าๆ ตั้งแต่​เมื่อ​ประมาณ 400 ล้านป​ ี​มา​แล้ว โดย​ปัจจุบัน​มี​
จำนวนช​ นิดเ​ฟิร์นท​ ั้งหมดป​ ระมาณ 12,000 ชนิด และย​ ังม​ พี​ ันธุท์​ ีไ่​ดจ้​ ากก​ ารป​ รับปรุงพ​ ันธุแ์​ ละค​ ัดเ​ลือกพ​ ันธุอ์​ ีกม​ ากมาย​
หลาย​ชนิด​ทำให้​เฟิร์น​มี​คุณสมบัติ​และ​รูป​ลักษณ์​ที่​หลาก​หลาย จึง​มี​การนำ​มา​ใช้​ประโยชน์​หลายแบบ เช่น เป็น​อาหาร
สมุนไพร งาน​หัตถกรรม ไม้​ประดับส​ วน ไม้​กระถาง และไ​ม้​ตัดใ​บ

       เฟิร์นห​ ลายช​ นดิ เ​ป็นไ​มท้​ ีแ่​ ตกก​ อใ​หใ้​บด​ ก และห​ ลายช​ นิดม​ กี​ ้านย​ าวแ​ ขง็ แ​ รง ใบม​ ส​ี เ​ี ขยี วส​ ด มอี ายกุ​ ารป​ กั แ​ จกนั ​
ที่น​ าน จึงม​ ีก​ ารนำเ​ฟิร์นม​ าใ​ช้ใ​นแ​ ง่ข​ องไ​ม้ต​ ัดใ​บ และม​ ีก​ ารผ​ ลิตเ​ฟิร์นเ​พื่อใ​ช้เ​ป็นไ​ม้ต​ ัดใ​บ เฟิร์นต​ ัดใ​บท​ ี่เ​ป็นท​ ี่น​ ิยมน​ ำม​ า​
ใช้​กัน​อย่างแ​ พร่ห​ ลาย ​ได้แก่ เฟิร์น​ใบห​ นัง​หรือเ​ลเ​ธอล​ ีฟ​เฟิร์น เฟิร์น​สกุล​นาคราช และ​เฟิร์น​สกุลใ​บ​มะขาม

       การใ​ชป้​ ระโยชนจ์​ ากเ​ฟิร์นใ​นแ​ งข่​ องก​ ารเ​ป็นไ​มต้​ ัดใ​บ โดยน​ ำม​ าจ​ ัดร​ ่วมก​ ับด​ อกไมช้​ นิดอ​ ื่นๆ​ นั้น เริ่มม​ กี​ ารน​ ิยม​
นำม​ า​ใช้ก​ ัน​มากใ​น​อุ​ตสาห​ กร​รม​ไม้​ตัดใ​บ ซึ่งม​ ี​ศูนย์กลาง​อยู่​ที่ฟ​ ลอริดา ประเทศส​ หรัฐอเมริกา โดย​เฟิร์น​ที่​ได้​รับค​ วาม​
นิยมม​ ากท​ ี่สุด​มาจ​ นถึงป​ ัจจุบัน คือเ​ฟิร์น​ใบห​ นัง ซึ่ง​เริ่ม​มีก​ ารนำ​เข้าม​ า​ปลูกใ​น​ฟลอริดา​ตั้งแต่ป​ ี พ.ศ. 2473 และ​ได้ร​ ับ​
ความน​ ิยมแ​ ละ​ใช้ก​ ัน​มา​ตั้งแต่ป​ ี พ.ศ. 2493

       ทั้งนี้​เนื่องม​ า​จาก คุณสมบัติ​ที่ด​ ี​ของเ​ฟิร์น​ใบ​หนังใ​น​การ​เป็น​ไม้ต​ ัด​ใบ​คือ ราคาถ​ ูก เก็บ​รักษาง​ ่าย มี​ผลผลิต​ทั้ง​
ปี นำ​ไป​จัดร​ ่วมก​ ับ​ดอกไม้ช​ นิดอ​ ื่นๆ​ ได้ห​ ลายร​ ูปแ​ บบ มีผ​ ิว​สัมผัส​และส​ ีท​ ี่​สวยงาม และ​ที่​สำคัญค​ ือ​มีอายุ​การ​ปักแ​ จกัน​
ที่ย​ าวนาน

       สำหรับ​ประเทศไทยพ​ ื้นที่​ผลิตเ​ฟิร์นต​ ัด​ใบแ​ บ่งไ​ด้​เป็น 3 เขต คือ
       1)	 เขตท​ ี่ราบภ​ าคก​ ลาง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ธนบุรี นนทบุรี และจ​ ังหวัดใ​กลเ้​คียงก​ รุงเทพฯ โดยพ​ ื้นทีผ่​ ลิต​
เฟิร์นต​ ัดใ​บด​ ัง​กล่าวส​ ่วน​ใหญ่​จะป​ ลูก​เฟิร์นใ​บ​มะขาม และ​ทำการ​ปลูก​เฟิร์น​นาคราช​บ้างเ​ป็น​ส่วนน​ ้อย
       2)	 พื้นที่​ระดับ​สูง​ทาง​ภาค​เหนือ​ซึ่ง​มี​อากาศ​หนาว​เย็น ทำการ​ปลูก​เฟิร์น​ใบ​หนัง ซึ่ง​ต้องการ​อากาศ​เย็น​และ​
ความชื้นส​ ูง โดย​พื้นที่ป​ ลูกอ​ ยู่ใ​นพ​ ื้นที่ส​ ่งเ​สริมข​ องม​ ูลนิธิโ​ครงการห​ ลวง ในจ​ ังหวัด​เชียงราย
       3)	 สวน​ปาล์ม​น้ำมัน ทาง​ภาค​ใต้ ที่ม​ ีค​ วามชื้น​สูง บริเวณล​ ำต้นป​ าล์ม​น้ำมัน​จึงม​ ีเ​ฟิร์น​ชนิด​อิงอ​ าศัย​ที่​สำคัญม​ า​
ขึ้นอ​ ยู่เ​ป็นป​ ริมาณม​ าก ได้แก่ เฟิร์นน​ าคราช เฟิร์นใ​บม​ ะขาม มีก​ ารนำเ​ฟิร์นต​ ัดใ​บม​ าใ​ช้ป​ ระโยชน์ท​ ั้งใ​นร​ ูปข​ องใ​บส​ ดแ​ ละ​
นำม​ า​แปรรูปเ​ป็นผ​ ลิตภัณฑ์ไ​ม้​ประดับ​แห้ง
       เ​ฟิร์น​ตัด​ใบท​ ี่ผ​ ลิตไ​ด้​มี​ทั้ง​การ​ใช้ท​ ั้ง​ภายใน​ประเทศ​และเ​พื่อก​ ารส​ ่งอ​ อก ทั้งนี้ม​ ีช​ นิด​ของ​ใบเ​ฟิร์นท​ ี่ส​ ่งจ​ ำหน่าย​
ไป​ยัง​ต่างป​ ระเทศ​ที่ข​ องไ​ทย​ใน​ปี 2549 – 2550 คิด​เป็นป​ ริมาณแ​ ละม​ ูลค่า​ดังต​ ารางที่ 6.1 และแ​ สดง​ปริมาณแ​ ละ​มูลค่า​
ของเ​ฟิร์น​ตัดใ​บไ​ป​ยังป​ ระเทศ​ต่างๆ ใน​ตาราง​ที่ 6.2 ดังนี้

                             ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23