Page 237 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 237

การ​จัดการก​ ารผ​ ลิตไ​ม้ใ​บก​ ระถาง 14-11
       5.4 การ​ปอ้ งกัน​กำจัด​ศัตรู​พืช ศัตรูพ​ ืช​ที่ส​ ำคัญ​มีห​ ลายช​ นิด​และ​มี​วิธี​การป​ ้องกัน​กำจัด ดังนี้

            5.4.1 การก​ ำจดั ว​ ชั พชื ใชว​้ ธิ ก​ี ล เนน้ ก​ ารก​ ำจดั ว​ ชั พชื โ​ดยใ​ชแ​้ รงงานค​ น โดยก​ ารด​ ายห​ รอื ถ​ าก 60 วนั /ครัง้
            5.4.2 โรค​ท​่ีสำคญั มีด​ ังนี้

                 1)	โรค​ใบ​จุด เกิด​จากเ​ชื้อ​แบคทีเรีย Erwinia carotovora, Erwinia chrysathemi, Erwinia
herbicola และ Psuedomonas spp.

                 	 ลกั ษณะอ​ าการ จะเ​กิดจ​ ุดส​ ีน​ ้ำตาลท​ ี่ใ​บแ​ ล้วข​ ยายข​ ึ้น มีร​ ูปร​ ่างไ​ม่แ​ น่นอนท​ ี่ข​ อบเ​ป็นส​ ีเ​ขียวอ​ ่อน
อาการ​จะ​ลุกลามอ​ ย่าง​รวดเร็ว อาจข​ ยาย​ไปท​ ั่วใ​บ​ภายใน 2-3 วัน

                 	 การ​ปอ้ งกนั ​กำจดั ควร​ป้องกันโ​ดย​ปรับส​ ภาพ​แวดล้อม​ของแ​ ปลง​ปลูก​ให้แ​ ห้ง และร​ ะวัง​ไม่ใ​ห้​
ต้นพ​ ืช​เกิดบ​ าดแผล จะท​ ำให้​เชื้อ​เข้า​ทำลาย​ได้​ง่าย อาจ​ใช้​สาร​เคมี​ป้องกันก​ ำจัด เช่น เบนโ​น​มิล

                 2) 	โรคเ​นา่ ​เละ เกิด​จาก​เชื้อ​แบคทีเรีย Erwinia carotovora
                 	 ลกั ษณะอ​ าการ เกิดเ​ป็น​แผล​สี​น้ำตาล​บนล​ ำต้น ส่วนท​ ี่​อยู่​ระดับ​ดิน มัก​มีก​ ลิ่น​เหม็น
                 	 การป​ อ้ งกันก​ ำจดั โดยใ​ช้​สาร​ ​เคมี​เมท​ทาแ​ ลคซ​ ิล
                 3) 	โรค​ใบ​จุด​และ​ลำต้นเ​น่า เกิด​จากเ​ชื้อ​รา Fusarium moniliforme
                 	 ลักษณะอ​ าการ เป็น​จุดฉ​ ่ำ​น้ำ​เล็กๆ บน​ใบ​อ่อน​และจ​ ะ​ขยาย​ใหญ่​ขึ้น มี​รูปร​ ่างไ​ม่แน่นอน สี​แดง​
หรือ​น้ำตาล มี​ขอบ​สี​เหลือง ทำให้​ใบ​แห้ง​ตาย ส่วน​โรค​ลำต้น​เน่า อาการ​ระยะ​แรก รอย​ตัด​ที่​ต้น​จะ​เน่า​เป็น​สี​แดง​เข้ม
โรคน​ ี้​จะท​ ำลาย​รวดเร็วใ​น​สภาพ​อากาศ​ที่​ร้อน​ชื้น
                	 การ​ปอ้ งกันก​ ำจดั โดย​ฉีด​พ่น​สารเ​คมี เช่น เบน​โน​มิล แมนโ​ค​เซป
                 4) โรค​ไหม้ เกิดจ​ าก​เชื้อ​รา Botrytis cinerea
                 	 ลักษณะ​อาการ เป็น​แผล​ฉ่ำ​น้ำ​บริเวณ​ใต้​ใบ​และ​ขยาย​อย่าง​รวดเร็ว สี​ของ​แผล​จะ​เปลี่ยน​จาก​
สี​เขียวอ​ ่อน​เป็นส​ ีน​ ้ำตาล​เข้ม​และ​ดำ
                 	 การ​ป้องกนั ก​ ำจัด ใช้​สารเ​คมีป​ ้องกัน​กำจัด​เชื้อ​รา เช่น แมน​โค​เซป
            5.4.3 แมลง และส​ ัตว์​ศัตรูท​ ี่ส​ ำคัญ	
                 1) เพลย้ี แ​ ป้ง
                 	 ลักษณะ​อาการ ตัว​อ่อนข​อง​เพลี้ย​แป้ง​มัก​เคลื่อนที่​ไป​เกาะ​บริเวณ​ซอก​ใบ หรือ​โคน​ราก​และ​
ดูดก​ ิน​น้ำเ​ลี้ยง จะ​ปล่อย​สาร​พิษ​ทำให้พ​ ืช​ชะงักก​ ารเ​จริญ​เติบโต บริเวณท​ ี่​ถูก​ดูดน​ ้ำเ​ลี้ยงเ​ป็น​สี​เหลือง หากเ​กาะ​อาศัย​อยู​่
มากจ​ ะท​ ำให้ใ​บร​ ่วง ควร​มีก​ าร​ใช้​ยาก​ ำจัดม​ ด​ซึ่ง​เป็น​พาหะ​ของโ​รค
                 	 การ​ป้องกัน​กำจัด หมั่น​ตรวจ​ดู​เสมอ ถ้า​พบ​ไม่​มาก ให้​ตัด​ใบ​ไป​เผา​ทำลาย และ​ใช้​สาร​เคมี​
ประเภทด​ ูดซ​ ึม เช่น กลุ่ม​คาร์​โบ​ซัล​แฟน กลุ่มฟ​ ูร​ าด​ าน ฉีด​พ่น​หรือ​โรย​บริเวณโ​คน​ต้น และค​ วร​ผสม​สารจ​ ับ​ติดใ​บ​เพื่อ​
เพิ่มป​ ระสิทธิภาพ​ในก​ าร​กำจัด
                 2) เพลย้ี ไ​ฟ
                 	 ลกั ษณะอ​ าการ มักเ​ข้าท​ ำลาย​โดย​การ​ดูด​กิน​น้ำ​เลี้ยง​จากย​ อด  ใบ  และด​ อก​อ่อน ทำให้ส​ ่วนท​ ี​่
ถูก​ทำลาย​หงิก  บิด​เบี้ยวเ​ป็นส​ ี​น้ำตาล  เหี่ยวแห้ง และ​ใบร​ ่วง​ใน​ที่สุด
                 	 การป​ อ้ งกนั ก​ ำจดั หมั่นต​ รวจด​ เู​สมอ พบก​ ารร​ ะบาดค​ วรฉ​ ีดพ​ ่นด​ ้วย สารใ​นก​ ลุ่มอ​ ิม​ ดิ​ าโ​คลพ​ ริด
อะเ​ซทท​ า​มิ​พริด กลุ่มส​ ปิน​โน​แซด กลุ่ม​ฟิ​โปรน​ ิล กลุ่มไ​ซเ​ปอร์​เมทร​ ิน  ฉีด​พ่น​ให้​ทั่ว​ต้น  ทุก 5-7 วัน  ติดต่อก​ ัน 2-3
ครั้ง  จนส​ ังเกต​ว่า​ไม่พ​ บก​ ารเ​ข้าท​ ำลาย​ของเ​พลี้ยไ​ฟ​แล้ว

                              ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242