Page 245 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 245

การ​จัดการ​การผ​ ลิต​ไม้​ใบ​กระถาง 14-19

เรอื่ งท​ ่ี 14.3.1
ความ​รู​ท้ ั่วไปเ​ก่ียว​กบั ​การ​จดั การ​การผ​ ลติ​ อโ​กล​ น​มี า

1. 	ความร​ ท้​ู ว่ั ไป	

       อ​โก​ลนี​มา หรือแก้วก​ าญจนา เป็น​ไม้​มงคล​ตามค​ วาม​เชื่อ​ของช​ าว​จีน ที่แ​ สดงถ​ ึงค​ วามอ​ ุดม​สมบูรณ์ และ​ความ​
โชค​ดี หรือ Lucky Plant และใ​นท​ าง​วิทยาศาสตร์ม​ ี​งาน​วิจัยท​ ี่​พบ​ว่า​พืชช​ นิด​นี้เ​ป็น​พืชฟ​ อกอ​ ากาศ หรือ​เพิ่ม​ออกซิเจน​
ที่ด​ ี​อีกด​ ้วย

       อ​โก​ลนี​มา​จัด​อยู่​ใน​วงศ์ Araceae (Arum Family) มีชื่อ​วิทยาศาสตร์​ว่า Aglaonema ssp. มีชื่อ​สามัญ​
ว่า Chinese Evergreen ชมรม​ผู้​พัฒนา​พันธุ์​ไม้​ประดับ 2000 ได้​ทูล​เกล้า​ขอ​พระราชทาน​ชื่อ​ภาษา​ไทย​จาก​เดิม​
ที่​ชื่อ​ว่า เขียว​หมื่น​ปี และ​ได้​รับ​การ​พระราชทาน​ชื่อ​ใหม่ ว่า “แก้ว​กาญจนา” จาก​สมเด็จ​พระบรม​โอ​รสาธิ​ราช
สยาม​มกุฎ​ราช​กุมาร เมื่อ​วัน​ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2549 แก้ว​กาญจนา​มี​ความ​หมาย​ว่า งดงาม​และ​สว่างไสว​สุก​สว่าง​
ดุจ​ทอง นับ​เป็น​ชื่อ​ที่​เป็น​มงคล​แก่​ผู้​ที่​มี​ไม้​ประดับ​ชนิด​นี้​ไว้​ใน​ครอบ​ครอง นับ​เป็น​ความ​สำเร็จ​ก้าว​แรก​ของ​ชมรม
ผ​ ู้พ​ ัฒนา​พันธุ์​ไม้ป​ ระดับ 2000 ใน​การ​เลือก​พืชพันธุ์พ​ ื้น​เมือง​มา​พัฒนา​จนเ​ป็นท​ ี่​ยอมรับ

       -	 ความ​หมาย​ของ​คำ​ว่า “อ​โก​ลนี​มา” คำ​ว่า “Aglaonema” มา​จาก​ราก​ศัพท์​ภาษา​กรีก 2 คำ คือ คำ​ว่า
“Aglos” หมายถ​ ึง สดใส (bright) และ “Nema” หมาย​ถึง เส้น​ด้ายบ​ างๆ หรือเ​กลียว หรือ​หมายถ​ ึง​เกสร​ตัวผู้​ได้​เกาะ​
ตัว​รวมก​ ันเ​ป็นเ​ส้นใยบ​ าง คล้าย​เส้น​ด้ายส​ ี​ขาว​นวล

       -	 ประวตั กิ ารค​ น้ พ​ บอโ​กล​ นม​ี าแ​ ละก​ ารนำเ​ขา้ ม​ าป​ ลกู เ​ลีย้ งใ​นป​ ระเทศไทย อโ​กล​ นม​ี าม​ ก​ี ารค​ น้ พ​ บเ​มือ่ ป​ ระมาณ
3000 ปี​มาแ​ ล้ว โดย​มี​ถิ่นก​ ำเนิด​ตั้งอ​ ยู่บ​ นเ​ส้นศูนย์สูตรข​ องเ​อเชียต​ ะวันอ​ อก​เฉียง​ใต้ ตั้งแต่​อินเดีย​ลง​ไปจ​ นถึงม​ าเลเซีย
หมู่​เกาะใ​น​ประเทศอ​ ินโดนีเซีย แถบส​ ุมาตรา เกาะช​ วา เกาะ​บอร์เนียว เกาะเ​ซลีเบส และข​ ึ้น​ไป​ทางต​ อน​เหนือถ​ ึง​ตอน​
กลาง​ของเ​กาะ​ลูซอน​ ประเทศ ฟิล​ ิปิ​นส์ ลาว ไทย เวียดนาม และจ​ ีน​ตอนใ​ต้ อโ​ก​ลนีม​ าเ​ดิม​มี​การ​พัฒนาพ​ ันธุ์​มาจ​ าก​
ไม้ป​ ่าพ​ ื้นบ​ ้านข​ องไ​ทย เริ่มจ​ ากก​ ารนำว​ ่านข​ ันหมากม​ าใ​ช้เ​ป็นไ​ม้ม​ งคลต​ ามค​ วามเ​ชื่อข​ องช​ าวจ​ ีนท​ ี่เ​รียก ว่านข​ ันหมากช​ าว​
เหนือว​ ่า “บ่วง​แช​นี้” อันเ​ป็น​สัญลักษณ์​ของ​ความ​มั่งคั่ง​อุดม​สมบูรณ์ จาก​นั้นร​ าว​กึ่ง​พุทธกาล​จึง​ได้​มี​การนำ​โพธิบัลลังก์​
จาก​สุมาตราเ​ข้าม​ าป​ ลูกเ​ลี้ยงเ​นื่องจากม​ ี​เส้น​ใบส​ ีชมพูต​ ัดก​ ับพ​ ื้น​ใบส​ ีเ​ขียวเ​ข้ม พ.ศ. 2510 ได้ม​ ี​การ​ นำอโ​กล​ นีม​ า​เข้าม​ า​
จากป​ ระเทศฟ​ ิลิปปินส์​และส​ หรัฐอเมริกา เพื่อ​ใช้เ​ป็นไ​ม้​กระถาง เรียก​กัน​ว่า เขียว​หมื่น​ปี พ.ศ. 2520 มีก​ ารนำ​พันธุ์​ไม​้
นี้​ออก​จาก​ป่า​ใน​ภาค​ต่างๆ ของ​ประเทศไทย เช่น ลาย​แตงไทย โพธิสัตว์ และ​เจ้า​เมือง​ราช ใน​ช่วง​นี้​เอง​ที่​คุณ​สิทธิ​พร
โทณวณิก และ​คุณเ​จิม อินเ​สนี ได้ท​ ำการ​ผสมพ​ ันธุ์​ข้าม​ชนิด​ได้​ไม้​ลูก​ผสม​ใหม่ๆ จำนวนม​ าก เช่น Queen of Siam
โดย​ลูกผสมต​ ้นเ​ด่นท​ ี่สุด คือ บัลลังก์ท​ อง แต่ไ​ด้ถ​ ูกโ​จรกรรม​ไปแ​ ล้ว หลังจ​ ากค​ วามพ​ ยายามใ​นก​ ารพ​ ัฒนา​พันธุ์​พืชก​ ลุ่ม​
นี้ พ.ศ. 2536 กลุ่ม​ผู้ส​ นใจ​จึงไ​ด้​เริ่ม​จัดป​ ระกวดพ​ ืช​สกุล​นี้​ใน​งานพ​ รรณ​ไม้​งามอ​ ร่ามส​ วนหลวง ร. 9 โดย​เรียกพ​ ืช​สกุล​นี้​
ว่า “อโ​กล​ นี​มา” หลังจ​ าก​ประสบค​ วามส​ ำเร็จ​ใน​การส​ ร้าง​ลูกผสม​ใหม่ จึงไ​ด้​มีก​ าร​ก่อต​ ั้ง “ชมรม​ผู้พ​ ัฒนา​พันธุ์​ไม้​ประดับ
2000” ขึ้น​ในป​ ี พ.ศ. 2543 ทำให้​เกิดค​ วาม​สำเร็จ​ใน​การส​ ร้าง​ลูกผสม​ที่​มี​ใบ​สีชมพู – แดง ทำให้​เกิดจ​ ุดเ​ปลี่ยน​ที่​สำคัญ​
ของ​พืช​สกุล​นี้ เนื่องจาก​เป็น​ที่​สนใจ​แก่​ผู้​พบเห็น​เป็น​อย่าง​มาก เกิด​การ​เผย​แพร่​และ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล​ของ​ลูก​ผสม​
อ​โก​ลนี​มาข​ ึ้นม​ ากมาย ทำให้​ประเทศไทย​เป็น​ศูนย์กลางข​ อง​พืช​สกุล​นี้ข​ องโ​ลก

                              ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250