Page 343 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 343

บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-21

การขนส่ง ในด​ ้านผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สิ่งแ​ วดล้อม บรรจุ​ภัณฑ์​ถูก​จับตาม​ อง​ว่า ก่อ​ให้​เกิดป​ ัญหา​ขยะบ​ รรจุภ​ ัณฑ์​เพิ่ม​มาก​ขึ้น
แต่​เมื่อ​พิจารณา​ความ​เป็น​จริง​จาก​ประเทศ​ที่​พัฒนา​แล้ว จะ​พบ​ว่า การ​ไม่​ใช้​บรรจุ​ภัณฑ์​เลย​หรือ​ใช้​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่​ไม่​
เหมาะ​สม ไม่​แข็ง​แรง​เพียง​พอ​ใน​การ​ขนส่ง​สินค้า ย่อม​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​เสีย​หาย​ต่อ​สินค้า​ที่​ขนส่ง​ก่อน​ถึง​มือ​ลูกค้า
ซึ่ง​ทำให้​เกิด​ปัญหา​ขยะ​จาก​สินค้า​ที่​เสีย​หายมา​กก​ว่าการ​ใช้​บรรจุ​ภัณฑ์ที่เหมาะสม ประกอบ​กับ​ความ​ต้องการ​ของ
​ผู้​บริโภค​ที่​มี​รูป​แบบ​การ​ดำรง​ชีวิต​ที่​ทัน​สมัยใน​ปัจจุบัน ย่อม​ต้องการ​อาหาร​ที่​มีอายุ​การ​เก็บ​ที่​นาน​ขึ้น ส่ง​ผล​ทำให้​เกิด​
การ​แข่งขันข​ องก​ าร​ใช้​วัสดุ​บรรจุภ​ ัณฑ์ท​ ี่ส​ ามารถ​ยืด​อายุ​การ​เก็บสินค้าน​ านข​ ึ้น​ตามท​ ี่​ลูกค้า​ต้องการ

2. 	การ​ลดป​ ัญหา​ขยะ​บรรจภุ​ ัณฑ์

       การ​ลด​ปัญหา​ขยะ​บรรจุ​ภัณฑ์​รวม​ไป​ถึง​การ​ลด​ผลก​ระ​ทบ​ของ​บรรจุ​ภัณฑ์​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​ซึ่ง​เป็น​บทบาท
​ที่​ได้​รับ​ความ​สนใจ​อย่าง​มาก​ใน​การ​พิจารณา​ความ​ยั่งยืน บทบาท​สำคัญ​ของ​บรรจุ​ภัณฑ์​ใน​ด้าน​การ​ลด​ปัญหา​ขยะ
​บรรจุ​ภัณฑ์ คือ ควร​ออกแบบ​บรรจุ​ภัณฑ์​ให้​สามารถ​ช่วย​ลด​ปัญหา​ขยะ​บรรจุ​ภัณฑ์​ด้วย​วิธี​การ​ต่าง ๆ ได้แก่ การ​ลด​
การ​ใช้​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่​มาก​เกิน​ไป การ​เลือก​ใช้​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์​ให้​เหมาะ​สม​ต่อ​การ​จัดการ​ซาก​บรรจุ​ภัณฑ์ และ​การ​เพิ่ม​
ปริมาณ​การ​รีไซเคิล โดย​ระบุ​เครื่องหมาย​รีไซเคิล​ให้​ชัดเจน​บน​บรรจุ​ภัณฑ์​เพื่อ​ให้​ทราบ​ว่า​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์​ใด​สามารถ​
นำไ​ปรีไซเคิลไ​ด้ง​ ่าย

       2.1		การ​ลด​การ​ใช้​บรรจุ​ภัณฑ์​ท่ี​มาก​เกิน​ไป เป็น​บทบาท​สำคัญ​ที่​ช่วย​ลด​การ​ใช้​วัตถุดิบ​ที่​เป็น​ทรัพยากร
ธรรมชาติ​ที่​นำ​มา​ใช้​ผลิต​เป็น​บรรจุ​ภัณฑ์ ได้แก่ แร่​โลหะ​สำหรับ​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​กระป๋อง​เหล็กและ​อะลูมิเนียม ไม้​
สำหรับผ​ ลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​กระดาษ  ผลพลอยได้จ​ าก​น้ำมัน​ดิบส​ ำหรับผ​ ลิตบ​ รรจุ​ภัณฑ์​พลาสติก และท​ รายส​ ำหรับผ​ ลิต​
บรรจุ​ภัณฑ์​แก้ว แต่​อย่างไร​ก็ตาม​การ​ลด​การ​ใช้​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์​ต้อง​คำนึง​ถึง​ความ​สามารถ​ด้าน​การ​คุ้มครอง​สินค้า​ที่​
บรรจดุ​ ้วย เพราะก​ ารล​ ดว​ ัสดบุ​ รรจภุ​ ัณฑม์​ ากเ​กินไ​ป อาจส​ ่งผ​ ลใ​หบ้​ รรจภุ​ ัณฑท์​ ีใ่​ชไ้​มแ่​ ข็งแ​ รงพ​ อต​ ่อก​ ารค​ ุ้มครองส​ ินค้าท​ ี​่
บรรจุ จากร​ ายงานก​ ารล​ ดก​ ารใ​ช้บ​ รรจุภ​ ัณฑ์ข​ องอ​ งค์กรม​ าตรฐานอ​ ุตสาหกรรมส​ ำหรับบ​ รรจุภ​ ัณฑ์แ​ ละส​ ิ่งแ​ วดล้อมข​ อง​
ประเทศ​อังกฤษ (Industry Council for Packaging and the Environment: INCPEN) ได้​เสนอแ​ นวทางท​ ี่ป​ ระสบ​
ความส​ ำเร็จใ​นก​ ารล​ ดก​ ารใ​ชบ้​ รรจภุ​ ัณฑด์​ ้วยว​ ิธกี​ าร​ บรู​ ณาก​ ารอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบโ​ดยพ​ ิจารณาว​ ัสดบุ​ รรจภุ​ ัณฑท์​ ีใ่​ชท้​ ั้งร​ ะบบ​
ว่า ปริมาณ​วัสดุ​ที่​เหมาะ​สม​ที่สุด​ควร​เป็น​เท่าไร เพื่อ​ให้​แน่ใจ​ว่า สามารถ​ช่วย​ปรับปรุง​การ​ลด​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์​ได้​อย่าง​
มี​ประสิทธิภาพ เกิด​ความ​ยั่งยืน ไม่​ก่อ​ให้​เกิด​การ​ใช้​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่​น้อย​เกิน​ไป (under-packaging) หรือ​มาก​เกิน​ไป
(over-packaging) ดัง​ภาพท​ ี่ 15.10 แสดง​ให้​เห็นว​ ่า ถ้า​มีก​ ารใ​ช้​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่น​ ้อย​เกินไ​ป หรือใช้​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์​เพื่อ​
การ​บรรจุ​น้อย​เกิน​ไป จะ​มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​ด้าน​ลบ​มาก แต่​เมื่อ​เพิ่ม​ปริมาณ​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์​มาก​ขึ้น​จนถึง​
จดุ ห​ นึ่งท​ ีท่​ ำใหเ้​กิดก​ ารอ​ อกแบบอย่างเหมาะส​ มท​ ี่สุดเพื่อชว่ ยป​ อ้ งกันส​ ินคา้ ท​ ีบ่​ รรจไุ​ด้ และไ​มเ่​ป็นการใ​ชว้​ ัสดบุ​ รรจภุ​ ณั ฑ​์
มาก​เกิน​ไป​จน​ก่อ​ให้​เกิด​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​ใน​ด้าน​ปริมาณ​ของ​เสีย​ที่​เกิน​ความ​จำเป็น ​ซึ่ง​เป็นการ​ตอบ​สนอง​
ต่อ​ความย​ ั่งยืน​ทั้ง 3 ด้าน คือ ลด​ต้นทุน (เศรษฐกิจ) ลูกค้า​ได้​สินค้า​ราคาไ​ม่​แพง​เกิน​จำเป็น (สังคม) และข​ ยะน​ ้อย​ลง
(สิ่งแ​ วดล้อม)

                              ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   338   339   340   341   342   343   344   345   346   347   348