Page 339 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 339
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-17
2.4.1 การจำแนกประเด็นสำคัญ เป็นขั้นตอนแรกของการแปลผลวัฏจักรชีวิต การจำแนกประเด็น
สามารถท ำไดโ้ ดยใชว้ ิธกี าร 3 วธิ ี ได้แก่ การว ิเคราะหก์ ารม สี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง การว เิ คราะหข์ ้อมูลท ีเ่ดน่ ห รอื ข ้อมลู ท ตี่ อ้ งการ
และการประเมินค วามไม่ป กติจากข ้อมูลที่เกิดข ึ้น
2.4.2 การตรวจสอบข้อมูล ขั้นตอนนี้ทำเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือในผลของการ
ประเมินผ ลกร ะท บต ลอดว ัฏจักรช ีวิต ในข ั้นต อนน ี้ม ีว ิธีก ารส ำคัญในก ารต รวจส อบข ้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ การตรวจส อบ
ความสมบูรณ์ การตรวจสอบความอ ่อนไหว (sensitivity) และก ารตรวจส อบความส อดคล้อง (consistency)
1) การต รวจส อบค วามส มบรู ณ์ เป็นการต รวจส อบเทียบต ามต ัวเลือกท ี่ต ้องการว ่า ข้อมูลท ี่น ำม า
เปรียบเทียบกันม ีค วามสมบูรณ์ข องข้อมูลค รบตามร ายการต รวจส อบท ี่ส ร้างข ึ้นหรือไม่ อาทิ ข้อมูลด้านวัตถุดิบทั้งตัว
เลือกบ รรจุภ ัณฑ์ A และ บรรจุภัณฑ์ B ต้องแสดงข ้อมูลครบท ั้งส องต ัวเลือก
2) การตรวจสอบความอ่อนไหว เป็นการตรวจสอบความคลาดเคลื่อนหรือความไม่แน่นอน
ของข้อมูลในแต่ละรายการของตัวเลือกว่า มีความคลาดเคลื่อนอย่างไร ค่าสูงสุด-ต่ำสุด เป็นอย่างไร อาทิ ตัวเลือก
บรรจุภัณฑ์ A ให้ค่าของความไม่แน่นอนของข้อมูลร้อยละ 21 ขณะที่ตัวเลือกบรรจุภัณฑ์ B ให้ค่าเท่ากับร้อยละ 7
เป็นต้น
3) การต รวจสอบความส อดคลอ้ ง เป็นการต รวจส อบว่า ข้อมูลที่ต รวจส อบในแ ต่ละรายการของ
ตัวเลือกทั้งหมดมีลักษณะข้อมูลที่ต้องการในทางเดียวกัน อาทิ ข้อมูลด้านการผลิตวัตถุดิบของตัวเลือก A และ B
มาจากการทดสอบ แต่ถ้าข้อมูลม าจากแ หล่งไม่เหมือนกัน เช่น ตัวเลือก A มาจ ากก ารท บทวนว รรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ขณะที่ข้อมูลของ B มาจากการวัด ลักษณะน ี้จัดเป็นค วามไม่คงเส้นค งวาข องข้อมูลที่ได้ของตัวเลือกทั้งส อง
2.4.3 การสรุปและข้อเสนอแนะ เป็นการแปลผลของการประเมินผลกระทบตามวัฏจักรชีวิตและ
สรุปผลเพื่อตัดสินใจเลือกตัวเลือกที่เหมาะสมตามผลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1) คือ การตรวจสอบความสมบูรณ์ และ
ข ั้นต อนท ี่ 2) คือ การต รวจส อบค วามอ ่อนไหว โดยค ำนึงถ ึงข ้อมูลท ี่ม ีผ ลกร ะท บต ่อส ุขภาพข องม นุษย์แ ละส ิ่งแ วดล้อม
น้อยที่สุด รวมทั้งผลกระทบที่ต้องการเฉพาะตามความตระหนักของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย และตามเป้าหมายของ
การศึกษา อย่างไรก็ตามควรพิจารณาการวิเคราะห์ค่าความไม่แน่นอนของข้อมูลด้วยก่อนการทำการตัดสินใจ เช่น
บรรจภุ ณั ฑช์ นดิ A มคี า่ ผ ลกร ะท บต อ่ ส ิง่ แ วดลอ้ มด า้ นภ าวะโลกร อ้ นน อ้ ยก วา่ บรรจภุ ณั ฑช์ นดิ B แตม่ คี า่ ค วามไมแ่ นน่ อน
ของข อ้ มลู ด า้ นผ ลกร ะท บต อ่ ภ าวะโลกร อ้ นม ากกวา่ บ รรจภุ ณั ฑช์ นดิ B ดงั น นั้ บรรจภุ ณั ฑช์ นดิ B จงึ เปน็ ต วั เลอื กท เี่ หมาะส ม
ก ว่า สำหรับข ้อเสนอแ นะค วรอ ิงต ามผ ลกร ะท บท ีไ่ดจ้ ากก ารป ระเมินว ่า ผลกร ะท บท ีเ่กิดข ึ้นข องก ารป ระเมินต ามว ัฏจักร
ชีวิตเกิดจ ากข ั้นต อนใด ควรให้ค วามต ระหนักในข ั้นต อนด ังก ล่าวเพื่อช ่วยล ดผ ลกระท บ อีกท ั้งก ารส นับสนุนจากผ ู้ท ี่ม ี
สว่ นไดส้ ่วนเสยี ท ั้งภ าคร ฐั แ ละภ าคเอกชน เพื่อช ่วยให้การล ดผ ลกร ะท บท ีเ่กดิ ข ึน้ บ ังเกิดผ ล เช่น ผลกร ะท บต อ่ ภ าวะโลก
ร้อนม มี ากในข ั้นต อนก ารผ ลิตว ัตถุดิบม ากกว่าข ั้นต อนก ารข ึ้นร ูปเป็นบ รรจภุ ัณฑ์ และผ ลกร ะท บด ังก ล่าวเกิดจ ากแ หล่ง
พลังงานท ี่ใช้ในก ารขนส่งว ัตถุดิบ ผู้ที่ม ีส ่วนได้ส ่วนเสียทั้งภ าครัฐและภ าคเอกชน ควรหาวิธีจัดการ อาทิ การเลือกเส้น
ทางการข นส่งท ี่เหมาะสม เพื่อป ระหยัดพลังงานที่ใช้ เป็นต้น
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช