Page 338 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 338
15-16 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
กระทบก บั ร ังสอี ลั ตราไวโอเลตท ดี่ วงอ าทิตยป์ ล่อยอ อกม า จะด ดู รงั ส ี แลว้ ท ำใหโ้มเลกลุ แ ตกต วั ใหค้ ลอรนี อ ะตอมเดี่ยว
โไอปโทซำนป ลฏดิกลิรงิยไาดก้ ับเปก ็น๊าซเพโอรโาซะนค ลเกอิดรีนเปเพ็นกีย๊างซ1ค ลออะรตีนอมมอนสาอมกาไรซถดท์ (ำCใหlO้ก)๊าแซลโอะโกซ๊านซแอ ตอกกซต ิเัวจไนด้ถ(Oึง21)0แ,ต00ก่ 0ารโทมีก่เล๊าซกโุลอโเซนนื่อใงนจชาั้นก
เมื่อคลอรีนมอนอกไซด์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยว แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้งเป็นลักษณะ
ปฏิกิริยาล ูกโซ่ การเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการท ำลายช ั้นโอโซนอย่างต ่อเนื่อง
4) ก๊าซกลุ่มท่ีเป็นสารอินทรีย์ระเหย เป็นสารอินทรีย์ที่สามารถระเหยกลายเป็นไอได้ที่สภาพ
อุณหภูมิและความดันปกติ ไอระเหยของสารอินทรีย์กลุ่มนี้ปล่อยจากวัสดุบรรจุภัณฑ์ตลอดวัฏจักรชีวิตโดยปล่อย
ออกม าม ากในก ระบวนการผ ลิต ไอร ะเหยน ีเ้ป็นพ ิษต ่อม นุษย์ ถ้าป ล่อยอ อกม าในส ิ่งแ วดล้อมเป็นเวลาน าน สารอ ินทรีย์
ระเหยส ามารถท ำป ฏิกิริยาก ับไนโตรเจนอ อกไซด์แ ล้วท ำให้เกิดโอโซนร ะดับพ ื้นด ิน (ground level ozone) ซึ่งจ ัดเป็น
โอโซนที่ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา เช่น โรคหอบหืด (asthema) และเกิดการกัดกร่อนโลหะ การทำลาย
พลาสติกได้
5) ก๊าซกลุ่มท่ีทำให้เกิดสารพิษทางอากาศ เป็นสารประกอบหลายชนิดเมื่อปลดปล่อยสู่
สิ่งแวดล้อมแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์ สารพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มาจากกระบวนการผลิต
ในประเทศสหรัฐอเมริกา องค์กรพิทักษ์ส ิ่งแ วดล้อม หรืออีพีเอ (The Environmental Protection Agency: EPA)
ระบุไว้ว ่ามีส ารพิษท างอากาศมากกว่า 150 ชนิดท ี่ได้มีก ารก ำหนดค่าก ารป ลดป ล่อยไว้แล้ว สารพ ิษทางอ ากาศเหล่าน ี้
ล้วนเป็นสารพิษที่ทำให้เสี่ยงต่อการก่อให้เกิดมะเร็งและเป็นอันตรายต่อระบบภูมิคุ้มกัน โดยกฎหมายของรัฐบาล
กลางแห่งสหรัฐอเมริกาที่บังคับใช้ควบคุมมลพิษทางอากาศในระดับชาติ เพื่อปกป้องประชาชนทั่วไปจากการสัมผัส
กับส ารป นเปื้อนในอากาศที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ (Clean Air Act) ได้จัดไว้เป็นกล ุ่มก๊าซท ี่ก่ออันตราย
ต่อส ุขภาพมนุษย์
2.3.5 ผลกร ะท บต อ่ ด นิ ซากบ รรจภุ ัณฑท์ ีไ่มส่ ามารถใชซ้ ้ำห รือร ีไซเคิลได้ เมื่อน ำไปก ำจัดอ าจก ่อใหเ้กิด
ผลกระทบต ่อสิ่งแ วดล้อมทางด ิน ได้แก่ การใช้ท ี่ดิน และก ารท ำให้เกิดสารพ ิษในดิน
1) การใชท้ ดี่ นิ ขยะจ ากซ ากบ รรจภุ ัณฑท์ ีไ่มไ่ดใ้ชซ้ ้ำห รือร ีไซเคิล มักน ำไปฝ ังก ลบ เมื่อซ ากบ รรจุ-
ภณั ฑใ์ นก ารฝ งั ก ลบม ปี รมิ าณม ากข ึน้ ยอ่ มก อ่ ใหเ้ กดิ ผ ลกร ะท บด า้ นก ารใชท้ ีด่ นิ ทัง้ นหี้ ากซากบ รรจภุ ณั ฑใ์ ชเ้ วลาส ลายต วั
นาน จะมีผลทำให้หาพื้นที่ฝังกลบได้ยาก โดยเฉพาะประเทศที่มีพื้นที่จำกัด และมีประชากรอ าศัยอยู่อย่างหนาแน่น
นอกจากก ารใชท้ ีด่ นิ แ ลว้ การฝ งั ก ลบซ ากบ รรจภุ ณั ฑท์ เี่ กดิ ก ารย อ่ ยส ลายส ารอ นิ ทรยี ใ์ นด นิ จะท ำใหเ้ กดิ ก า๊ ซเรอื นก ระจก
จำพวกก ๊าซมีเทนและก๊าซค าร์บอนไดออกไซด์ และ เมื่อได้ร ับน้ำฝ น ซากบ รรจุภัณฑ์ที่ฝังก ลบเกิดการหมัก ทำให้ม ีน ้ำ
ชะข ยะ (leachate) หรือน้ำเสียเข้าไปป ะปนก ับน ้ำใต้ดิน ถ้าในน ้ำช ะข ยะน ั้นม ีส ารพ ิษท ี่เป็นอ ันตราย อาจท ำให้น ้ำใต้ดิน
ปนเปื้อนส ารพิษน ั้นได้
2) การท ำใหเ้ กดิ ส ารพ ษิ ในด นิ สารพ ิษส ำคัญในด ินอ าจเกิดจ ากซ ากบ รรจภุ ัณฑท์ ีฝ่ ังก ลบห รืออ าจ
เกิดจากการเผาซากบรรจุภัณฑ์กลายเป็นเถ้า แต่ยังมีสารพิษปนอยู่ เช่น โลหะหนักที่ปะปนในดิน โลหะหนักสำคัญ
ท เี่ ปน็ พ ษิ ต อ่ ม นษุ ย์ ไดแ้ ก่ ตะกัว่ (lead) แคดเมยี ม (cadmium) โคบอลต์ (cobalt) โครเมยี ม (chromium) และน กิ เกลิ
(nickel) เมื่อนำดินที่ปนเปื้อนโลหะหนักนี้ไปเพาะปลูก อาจเกิดการสะสมโลหะหนักในพืชที่เพาะปลูกได้ นำไปสู่
ผลกระท บต่อสิ่งแ วดล้อมแ ละมนุษย์ได้ สารพ ิษในดินเหล่าน ี้ส่วนใหญ่มาจากห มึกพ ิมพ์บรรจุภัณฑ์
2.4 การแ ปลผ ลว ฏั จกั รช วี ติ ตามร ่างม าตรฐานข องอ งค์กรร ะหว่างป ระเทศว ่าด ้วยก ารม าตรฐาน (ISO) ที่ม ีชื่อ
ว่า การจัดการสิ่งแ วดล้อม การป ระเมินวัฏจักรช ีวิต การแ ปลผลวัฏจักรชีวิต (Environmental Management-Life
Cycle Assessment-Life Cycle Interpretation) หรือ ISO/DIS 14043 ได้กล่าวถ ึงข ั้นตอนสำคัญข องการแปลผ ล
วัฏจักรชีวิต 3 ขั้นตอน ได้แก่ การจำแนกประเด็นสำคัญ การตรวจส อบข ้อมูล และก ารส รุปและข้อเสนอแนะ
ลิขสิทธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช