Page 336 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 336
15-14 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ฐานข้อมูลที่มีอยู่แล้ว เพื่อให้ข้อมูลที่นำมาใช้เปรียบเทียบนั้นมีความน่าเชื่อถือ ประกอบกับการประเมินวัฏจักรชีวิต
เป็นง านท ี่ต้องใช้เวลามากในการเก็บข ้อมูล จึงได้มีก ารจ ัดท ำข้อมูลบางร ายการเป็นฐ านข ้อมูลไว้แล้ว
2.3 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวิต เป็นขั้นตอนการประเมินที่แสดงถึงผลกระทบต่อ
สุขภาพของมนุษย์และระบบนิเวศ รวมถึงการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
จำแนกได้เป็น 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบต่อพลังงานที่ใช้ ผลกระทบต่อน้ำ
ผลกร ะท บต่ออ ากาศ และผลกระทบต่อด ิน
2.3.1 ผลกระท บตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นผลกระท บจ ากก ารสกัดวัตถุดิบหรือการนำว ัตถุดิบม าใช้
ข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้แตกต่างไปในแต่ละพื้นที่และแต่ละขั้นตอนในกระบวนการผลิต นอกจากนี้ยังรวมไปถึง
ความแตกต่างของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถทดแทนได้ และทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถทดแทนได้
ตัวอย่างเช่น การต ัดต ้นไมใ้นป ่าเพื่อน ำม าผ ลิตก ระดาษ ย่อมส ่งผ ลกร ะท บต ่อร ะบบน ิเวศป ่าไม้ แตเ่นื่องจากต ้นไมใ้นป ่า
ทรัพยากรธรรมชาติท ี่สามารถปลูกทดแทนได้ ถ้ามีก ารจ ัดการปลูกป่าทดแทนหลังจากตัดไม้ไปใช้แล้ว จึงช่วยลดผ ล
กร ะท บท ีเ่กิดก ับป ่าไมไ้ด้ อีกต ัวอย่างห นึ่ง คือ การส กัดน ้ำมันด ิบม าใชผ้ ลิตพ ลาสติก ส่งผ ลต ่อส ิ่งแ วดล้อมในธ รรมชาติ
น้ำมันด ิบเป็นท รัพยากรธรรมชาติท ี่ไม่ส ามารถผ ลิตห รือห าม าท ดแทนได้ เมื่อข ุดข ึ้นม าใช้แ ล้ว ปริมาณท ี่ค งเหลืออ ยู่ใน
ธรรมชาตยิ อ่ มล ดล งไปเรือ่ ย ๆ จงึ ส ง่ ผ ลกร ะท บต อ่ ท รพั ยากรธรรมชาตมิ ากกวา่ แ ละน านก วา่ ก ารต ดั ต น้ ไมใ้ นป า่ เพือ่ น ำม า
ผลิตกระดาษ
2.3.2 ผลกร ะท บต อ่ พ ลงั งานท ใี่ ช้ เป็นผ ลกร ะท บท ีเ่กี่ยวข้องก ับพ ลังงานท ีใ่ชใ้นก ระบวนการผ ลิตแ ต่ละ
ขัน้ ต อนต ลอดว ัฏจกั รช วี ติ อาทิ พลังงานท ใี่ชใ้นก ระบวนการผ ลิตก ระดาษ เชน่ พลังงานท ีใ่ ชใ้ นก ารต ดั ต น้ ไมเ้ป็นท ่อน ๆ
การตัดท่อนไม้เป็นชิ้นไม้เล็ก ๆ จนถึงการตีเยื่อ พลังงานที่ใช้ในการขนส่งวัตถุดิบจากแหล่งผลิตไปยังโรงงานผลิต
บรรจุภัณฑ์ ถ้าพ ลังงานท ี่ใช้นั้นผ ลิตจ ากถ ่านหินหรือน ้ำมัน สามารถส่งผลกระทบต่ออ ากาศได้ เพราะเมื่อเกิดก ารเผา
ไหมแ้ ล้ว จะป ล่อยก ๊าซค าร์บอนไดออกไซดอ์ อกส ูอ่ ากาศ เป็นต้น ดังน ั้นถ ้าส ามารถล ดพ ลังงานท ีใ่ชใ้นก ระบวนการผ ลิต
ต่าง ๆ ลงได้ ย่อมน ำไปส ู่ก ารลดผ ลกร ะทบต ่อส ิ่งแ วดล้อมโดยรวมได้
2.3.3 ผลกร ะท บต อ่ น ำ้ เป็นการศ ึกษาผ ลกร ะท บจ ากก ระบวนการผ ลิตท ีม่ ตี ่อน ้ำ รวมถ ึงก ารป ลดป ล่อย
น้ำเสียลงไปป นเปื้อนในแหล่งน้ำธ รรมชาติ เช่น ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำคลอง เป็นต้น การวัดค ุณภาพน้ำทำได้โดยอาศัย
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบต่อน้ำต่อไปนี้ ค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมีหรือค่าบีโอดี (Biochemical
Oxygen Demand หรอื Biological Oxygen Demand: BOD) คา่ สารแ ขนล อยห รอื ค า่ ท เี อสเอส (Total Suspended
Solid: TSS) และค่าสารประกอบแฮโลเจนที่ถูกดูดซับได้หรือค่าเอโอเอ็กซ์ (Adsorbable Organic Halide หรือ
Adsorbable Organic Halogen: AOX)
1) คา่ บ โี อด ี เปน็ ต วั ช วี้ ดั ป รมิ าณอ อกซเิ จนท จี่ ลุ นิ ทรยี ต์ อ้ งการใชใ้ นก ารย อ่ ยส ลายส ารอ นิ ทรยี ใ์ นน ำ้
ซึ่งถ้ามีค ่าบีโอดีสูง หมายถึง มีปริมาณจุลินทรีย์ในน้ำม าก ทำให้ป ริมาณอ อกซิเจนในน ้ำลดลง น้ำจึงมีคุณภาพต่ำห รือ
เป็นน้ำเสียนั่นเอง ค่าบีโอดีที่สูงส่งผลกระทบต่อเนื่องไปถึงความหลากหลายทางชีวภาพ เพราะอาจทำให้สิ่งมีชีวิต
บางช นิดท ีห่ ายใจโดยใชก้ ๊าซออกซิเจนในน ้ำตายได้ เกิดป ัญหาย โูทรฟ ิเคชัน (eutrophication) คือ ซากส ิ่งม ชี ีวิตท ีต่ าย
จะเปลี่ยนเป็นธ าตุอาหารแ ละม ีปริมาณเพิ่มขึ้นในน ้ำ จนกระตุ้นให้พืชบางป ระเภท เช่น สาหร่ายเจริญเติบโตมากกว่า
ปกติ และแพร่กระจายเพิ่มจำนวนข ึ้นอ ย่างม ากในน ้ำ (algae bloom)
2) คา่ ส ารแ ขวนลอย เปน็ ต วั ช วี้ ดั ป รมิ าณส ารแ ขวนลอยในน ำ้ สารแ ขวนลอยเปน็ ข องแขง็ ข นาดเลก็
ที่ไม่ล ะลายน ้ำ แต่ก ระจายต ัวอ ยู่ในน ้ำในส ภาพข องผ สมท ี่เรียกว ่า คอลลอยด์ สารแ ขวนลอยเป็นได้ท ั้งส ารอ ินทรีย์แ ละ
สาร อน นิ ทร ยี ์ ตวั อยา่ งเชน่ ดนิ เหนยี ว (clay) ดนิ ต ะกอนท รายห รอื ด นิ ท รายแ ปง้ (silt) เปน็ ตน้ สารแ ขวนลอยในน ำ้ ส ง่ ผ ล
ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช