Page 337 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 337
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-15
ทำใหน้ ้ำข ุ่นข ึ้น แสงแดดจ ึงไม่ส ามารถส ่องผ ่านล งไปในน ้ำได้ พืชส ีเขียว เช่น สาหร่าย จึงไม่ส ามารถส ังเคราะหแ์ สงแ ละ
ให้ออกซิเจนในน ้ำได้ ทำให้เกิดการลดกิจกรรมของส ิ่งมีชีวิตในน้ำที่ห ายใจด้วยก๊าซออกซิเจน
3) ค่าเอโอเอ็กซ์ เป็นตัวชี้วัดปริมาณสารที่ทำให้เกิดการก่อตัวของสารประกอบแฮโลเจนที่ถูก
ดูดซ ับได้ (Adsorbable Organic Halogen: AOX) เช่น สารประกอบค ลอรีนจ ำพวกไดอ อกซ ิน (dioxin) และฟ ิวแ รน
(furan) ซึ่งเป็นสารที่มีความเป็นพิษต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม สารไดออกซินและฟิวแรนเกิดขึ้นระหว่างกระบวน
การผ ลิตก ระดาษในข ั้นต อนก ารฟ อกเยื่อด ้วยค ลอรีน เมื่อค ลอรีนท ำป ฏิกิริยาก ับล กิ นิน จะเกิดส ารประกอบไดอ อกซ ิน
นอกจากนี้ยังเกิดจากการเผาวัสดุบรรจุภัณฑ์บางชนิด สารพิษไดออกซินและฟิวแรนสามารถสะสมในเนื้อเยื่อของ
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำใกล้โรงงานผลิตกระดาษและเยื่อกระดาษได้ สารไดออกซินและและฟิวแรนจากสิ่งมี
ชีวิตในน ้ำจะส่งผลกร ะทบท ี่เป็นพิษต ่อม นุษย์ด้วย หากม นุษย์กินสิ่งมีช ีวิตในน ้ำนั้นเข้าไป
2.3.4 ผลกร ะท บต อ่ อ ากาศ จากบ ัญชรี ายการส ิ่งแ วดล้อมท ีไ่ด้ ซึ่งแ สดงผ ลเป็นก ๊าซช นิดต ่าง ๆ สามารถ
นำม าจ ดั ก ลุ่มท ีก่ ่อใหเ้กิดผ ลกร ะท บต ่อส ิง่ แ วดล้อมไดห้ ลายก ลุ่ม ได้แก่ กลุม่ ท ีท่ ำใหเ้กิดค วามเปน็ กร ด (acidification)
กลุ่มที่ท ำให้เกิดภ าวะโลกร ้อน (global warming) กลุ่มที่ทำให้เกิดการลดลงข องโอโซน (ozone depletion) กลุ่มที่
เเก(ปพh๊าa็นื่อซzสใไaหนาrร้เโdกตอoิดรินuเพทจsลรนaัีงยอiงr์รอาะpนกเoหไเซlมยl1uดื่อ)t์ (ไavก(ดnno๊า้รitlซtasับrก:toนiลHlg้ำeุ่มeAเทnoชP่ีทr่นsgoำ)xaนใหin้ำdฝi้เeกcน:ิดcคNกoว๊าOmซามxซp)เัลoปทเu็นฟี่ปnกอลdรร่อsด์อ:ยอVอไกดอOไ้แกซCกสดsู่่อ์ท)กาำแ๊ากปซลาฏซศะิกัลกจิรเลาฟิยกุ่มอากทกราี่เ์อับรปอเน็นผก้ำสาไ ไแาซหรลดมพ้ว์ ้เเิษ(ชปsทื้อuลาเlี่ยfพงuนอลrไาิงปกoโเดxาปศiยd็นทเeกฉี่เ:ปรพดS็นาOซะอถัลันx)่าฟตนแิวรหรลาินิกยะ
ส่วนก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ทำปฏิกิริยากับน้ำ แล้วเปลี่ยนเป็นกรดไนตริก เมื่อกรดดังกล่าวถูกชะล้างไปบนพื้นดิน
จะส่งผลกระท บต ่อระบบนิเวศและอาคารบ้านเรือนได้
2) กา๊ ซก ลมุ่ ท ท่ี ำใหเ้ กดิ ภ าวะโลกร อ้ น ภาวะโลกร ้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงส ภาพภ ูมอิ ากาศอ ันเป็น
ผลมาจากก๊าซเรือนก ระจก ก๊าซเรือนกระจกเป็นผ ลมาจ ากก ารใช้พลังงานเชื้อเพลิงในกระบวนการผ ลิตแ ละการข นส่ง
ตลอดวัฏจักรชีวิตข องก ารผลิตผ ลิตภัณฑ์ห รือบรรจุภ ัณฑ์ มีก๊าซห ลายช นิดที่จ ัดเป็นก๊าซเรือนกระจก คณะกรรมการ
ระหว่างรัฐบาลว ่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC)
ไกไฮดาโร้กดปำรหลเน่อจนยดกฟก ๊า๊าลซซูอเเรอรือือโรนนคกการรระะ์บจจอกกนทที่เี่ส(กHำิดคFขัญCึ้น6)6พเิจชปานอริดรณ์ฟ ไาลดเปูอ้แ็นอกโค่ รค่าคศาารักร์บย์บอภอนานไพด(ทPอี่ทFอำCกใหไs)ซ้โดลแก์ล(ระC้อซOนัล2เ)ฟวัดมอใีเรทน์เฮนร กูป(ซขCะอHฟง4ผล)ลูอไกอนรไตระรดทัส์บ(อSขออFกง6ไ)1ซกดกา์ิรโ(ลวNกัด2รคOัม่า)
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
3) ก๊าซกลุ่มท่ีทำให้เกิดการลดลงของชั้นโอโซน เป็นสารที่ดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตใน
บรรยากาศชั้นบน คือ ชั้นส ต ราโตสเฟียร์ (stratosphere) และทำลายก ๊าซโอโซนในช ั้นนี้ โดยก๊าซโอโซนส่วนใหญ่ใน
ชั้นส ต ราโตสเฟียร์รวมต ัวเป็นช ั้นบาง ๆ ที่ระยะส ูงป ระมาณ 20-30 กิโลเมตร ทำหน้าที่ก รองร ังสีอัลตราไวโอเลตจาก
ดวงอ าทิตย์อ อกไปก ่อนถ ึงพ ื้นโลก หากก ๊าซโอโซนในช ั้นน ี้ล ดล ง ส่งผ ลท ำให้ร ังสีจ ากด วงอ าทิตย์ผ ่านเข้าม ายังโลกม าก
รังสีท ี่ส ำคัญ คือ รังสีอ ัลตราไวโอเลต ซึ่งห ากร่างกายม นุษย์ได้รับรังสีน ี้มากเกินไป มีผลให้เกิดม ะเร็งผิวหนังได้ สาร
ที่ก่อให้เกิดการล ดลงข องช ั้นโอโซน ((CozFoCn)eทdีใ่ชeใ้pนleอtุตinสgาหsกuรbรsมtaแnลcะeสsา:รOปรDะSกsอ)บเปโบ็นรพมวีนกทสีใ่าชรใ้ปนรสะากรอด บับคเพลลอิงรีน(ฮจาำลพอวนก)
คลอโรฟ ลอู อโรค าร์บอนห รือซ เีอฟซ ี
แต่สารประกอบโบรมีนมีผลต่อการลดลงของโอโซนมากกว่าสารประกอบคลอรีน ตัวอย่างการทำให้โอโซนลดลงโดย
สารซ เีอฟซ ี คือ เมื่อส ารซ เีอฟซ ที ีป่ ล่อยอ อกม าจ ากโรงงานอ ุตสาหกรรม ลอยตัวส ูงข ึ้นจ นถึงช ั้นโอโซนในบ รรยากาศแ ละ
ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช