Page 35 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 35

หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1-33

สาร​ตัด​ต่อ​พันธุกรรม​ใด ๆ ใน​ทุก​ขั้น​ตอน​ของ​การ​ผลิต ผู้​ประกอบ​การ​ด้าน​อาหาร​เสริมสุข​ภาพ​หรือ​อา​หา​รอ​อร์​แก​นิก​
และ​ผู้​บริโภค​กลุ่ม​นี้เ​ป็น​ผู้ท​ ี่ม​ ักม​ ี​ความ​ตั้งใจใ​น​การ​รณรงค์​เพื่อ​สิ่ง​แวดล้อมข​ อง​โลก

ขนส่งไ​ปย​ ัง​ผู้​ขายป​ ลีก  ผู้บ​ ริโภคน​ ำภ​ าชนะ                            ซื้อส​ ินค้า
                               ไปบ​ รรจุใ​หม่

โรงงาน การบ​ ริโภค

ขนส่ง​จาก​                                                                     นำก​ ลับม​ าบ​ รรจุ​ใหม่
ผู้ข​ าย​ปลีก

                             บรรจุภ​ ัณฑ์ท​ ี่​แบ่ง
                              บรรจุ​ใหม่แ​ ล้ว

                                 ภาพ​ที่ 1.15 กระบวนการน​ ำไ​ ปบ​ รรจุ​ใหม่

ท่มี า: ปุ่น คง​เจริญเ​กียรติ รวม​บทความ​บรรจุ​ภัณฑ์ พ.ศ. 2544-2547 หน้า 96-2

       4.3 		การแ​ ปรส​ ภาพ (reconstitution) ในอ​ ุตสาหกรรมบ​ รรจุ​ภัณฑ์​มีข​ อง​เสีย (waste) จาก​การ​ผลิต​ที่​เกิดข​ ึ้น​
อย่าง​ต่อ​เนื่อง​และ​สามารถ​นำ​ไป​แปร​สภาพ​ได้​มากมาย นอกจาก​นี้​ของ​เสีย​จาก​อุตสาหกรรม​บรรจุ​ภัณฑ์​มี​ต้นทุน​ต่ำ​
​และ​สามารถ​นำ​มา​ใช้​เป็น​วัตถุดิบ​ใน​อีก​อุตสาหกรรม​หนึ่ง ถ้า​คุณภาพ​ของ​ของ​เสีย​ที่​ได้​นั้น​ไม่​แตก​ต่าง​กัน​มาก​
เมื่อ​เปรียบ​เทียบ​กับ​วัตถุดิบ​ใหม่ ของ​เสีย​ของ​วัสดุ​หลัก​ทาง​ด้าน​บรรจุ​ภัณฑ์​ทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ พลาสติก กระดาษ
แก้ว และ​โลหะ ล้วน​มี​ศักยภาพ​ที่​จะ​นำ​มา​แปร​สภาพ​เป็น​วัตถุดิบ​สำหรับ​อุตสาหกรรม​อื่น จาก​กระแส​ของ​สังคม​
ในร​ อบ 10 ปีท​ ี่​ผ่านม​ า​มีก​ าร​รณรงค์ใ​ห้ร​ วบรวม​บรรจุภ​ ัณฑ์​ที่​ใช้​แล้วม​ ากข​ ึ้น​เรื่อย ๆ จน​มีโ​อกาสท​ ำให้​บรรจุภ​ ัณฑ์​ใช้​แล้ว​
แปร​สภาพ​เป็น​แหล่ง​วัตถุดิบ​สำหรับ​ใช้​ใน​อุตสาหกรรม​อื่น​เพิ่ม​มาก​ขึ้น ใน​วงการ​อุตสาหกรรม​บรรจุ​ภัณฑ์​เรียก​วัสดุ​ที่
นำ​ไปแ​ ปรส​ ภาพ​นี้ว่า PCR (post–consumer recycled)

       กระดาษ​เป็น​ตัวอย่าง​ของ​วัสดุ​ที่​นำ​มา​แปร​สภาพ​มาก​ที่สุด ด้วย​ความ​สามารถ​ใน​การ​บำบัด​เยื่อ​ของ​กระดาษ​
ที่​ใช้​แล้ว​และ​การ​คัด​เลือก (sorting) ​กระดาษ ที่สามารถทำได้​ก่อน​นำ​ไป​แปร​สภาพ จึง​นิยม​นำ​กระดาษ​ใช้​แล้วไป
แ​ ปร​สภาพ แม้ว่า​การ​แปรส​ ภาพ​แต่ละ​ครั้งจ​ ะ​ทำให้​คุณภาพ​ของ​เยื่อ​ลด​ลงก​ ็ตาม

       4.4		การใชพ้ ลงั งานจ​ ากซ​ ากบ​ รรจภ​ุ ณั ฑ ์   พลงั งานน​ บั เ​ปน็ ท​ รพั ยากรธรรมชาตป​ิ ระเภทห​ นึง่ บรรจภ​ุ ณั ฑพ​์ ลาสตกิ ​
ใชแ้​ ล้ว สามารถน​ ำไ​ปเ​ผาเ​พื่อใ​หไ้​ดค้​ วามร​ ้อนท​ ีอ่​ าจส​ ูงถ​ ึง ร้อยล​ ะ 70 ของค​ วามร​ ้อนจ​ ากเ​ตาเ​ผาเ​พื่อนำพลังงานความร้อน
ที่ได้มาใ​ช้​เป็นพ​ ลังงาน​ที่เ​ป็น​ประโยชน์

       ด้วย​ความ​สามารถ​ใน​การ​แยก​และ​รวบรวม​พลาสติก​ประเภท​เดียวกัน​โดย​สังเกต​จาก​สัญลักษณ์​ที่​ใช้​แยก​
ประเภทบ​ ริเวณใ​ต้บ​ รรจุภ​ ัณฑ์พ​ ลาส​ ติก เช่น ขวดพ​ ลาสติก ดังต​ ัวอย่างต​ ่อไปนี้ เมื่อร​ วบรวมซ​ ากบ​ รรจภุ​ ัณฑ์พอลิเอทิลีน
(polyethylene: PE) และพอลิโพรพิลีน (polypropylene: PP) ซึ่งอ​ ยู่ใ​นต​ ระกูลพอลิโอลิฟิน (polyolefin) เหมือน​กัน​
และ​มี​ปริมาณ​มาก​พอที่​จะ​คุ้ม​ค่า​ต่อ​การ​ลงทุน จะ​สามารถ​นำ​มา​แปร​สภาพ​เป็น​สินค้า​อย่าง​อื่น เช่น ดอกไม้​พลาสติก

ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40