Page 34 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 34
1-32 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
4. หน้าทบี่ รรจภุ ัณฑ์ท่มี ีต่อส ่ิงแวดลอ้ ม
ตัวอย่างแนวทางที่บรรจุภัณฑ์ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การเลิกใช้ส ารซีเอฟซ ี (chlorofluoro-
carbon: CFC) ซึ่งเป็นสารขับดันที่ใช้ฉีดพ่นสินค้าออกจากบรรจุภัณฑ์และทำให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่
ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้ต้องพัฒนาส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์ใหม่แทนที่ส่วนประกอบแบบเก่า ยังมี
บรรจุภัณฑ์หลากหลายประเภทที่ได้รับการออกแบบใหม่ให้มีน้ำหนักเบาลง พร้อมทั้งใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ต่างชนิดกัน
มาแปรรูปเป็นว ัสดุป ระสม (composite material) ทำให้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยรวมน ้อยลง นอกจากน ี้ยังมีก าร
ปรับปรุงพัฒนากระบวนการรีไซเคิล การนำกลับมาผลิตใหม่ และเปลี่ยนแนวทางการออกแบบเพื่อนำวัสดุเก่ามาใช้
ใหม่ให้เกิดประสิทธิผลสูงที่สุด การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เหล่านี้มิเพียงแต่มีผลต่อการลดปริมาณการใช้วัตถุดิบที่ใช้
แปรรูปเป็นบรรจุภัณฑ์แล้ว ยังมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมอีกด้วย ในการรณรงค์บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
ที่อ าศัยหลักการเบื้องต ้นด้านส ิ่งแ วดล้อมท ี่ประกอบด้วย 3R อันได้แก่ reduce, reuse และ recycle เมื่อเรียงตาม
ลำดับความจำเป็นในทางปฏิบัติเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ควรเริ่มจากความพยายามลดปริมาณวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ต่อ
หน่วย (reduce) ก่อน จากน ั้นจ ึงพ ิจารณาค วามเป็นไปได้ในก ารนำก ลับม าใช้ซ ้ำ (reuse) และส ุดท้ายค ือ ความพ ยายาม
รวบรวมบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่ใช้แล้วนั้นน ำกลับมาผลิตใหม่ห รือรีไซเคิล (recycle)
แนวทางสำคัญท ี่ช่วยให้บ รรจุภัณฑ์บ รรลุห น้าที่ที่ม ีต่อสิ่งแวดล้อมมีด ังนี้
4.1 การนำเอาบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ซ้ำ (reuse) การนำเอาบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ซ้ำได้รับความนิยมมากขึ้น
เรื่อย ๆ สาเหตุห นึ่งส ืบเนื่องม าจ ากก ระแสก ารเรียกร ้องข องผ ู้บริโภคให้ลดค วามส ิ้นเปลืองในการใช้บรรจุภ ัณฑ์ และ
อีกส าเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากก ารท ิ้งและกำจัดข ยะที่มีซากบรรจุภ ัณฑ์อยู่ด้วย
การกำจัดขยะที่ใช้กันมาตั้งแต่โบราณ คือ การฝังกลบในดิน ในปัจจุบันนี้การฝังขยะลงในดินทำได้ยากขึ้น
เนื่องจากพื้นที่ท ี่ใช้ในก ารฝังก ลบขยะห าได้ย ากขึ้นประกอบกับท ี่ดินมีร าคาสูงข ึ้น รวมทั้งการต ่อต ้านจากช ุมชนใกล้ก ับ
สถานท ี่ที่ฝังขยะ เนื่องจ ากส่งกลิ่นเหม็นและอ าจก ่อมลพิษต่าง ๆ ด้วยเหตุน ี้การนำเอาบ รรจุภ ัณฑ์กลับม าใช้ซ้ำจะช ่วย
ลดค วามส ิ้นเปลืองแ ละม ีโอกาสเสียค ่าใช้จ่ายโดยร วมน้อยล ง ความเป็นไปได้ที่แ ต่ละอุตสาหกรรมจะน ำบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่
ใช้แล้วกลับมาใช้ซ้ำแปรผันตามจำนวนของบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาด้วยปริมาณมากพอพร้อมทั้งมีค่าใช้จ่าย
ที่ต่ำในการรวบรวมเก็บกลับและทำความสะอาด ตัวอย่างอุตสาหกรรมที่ประสบความสำเร็จในการนำบรรจุภัณฑ์
กลับม าใช้ซ้ำ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารเครื่องด ื่ม เช่น อุตสาหกรรมน้ำอัดลม เบียร์ ที่นำข วดกลับคืนมาบรรจุใหม่
จากการสำรวจในหลายประเทศพบว่า จำนวนครั้งในการนำบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ซ้ำนั้นมีมากครั้งยิ่งขึ้น
ตัวอย่างเช่น การใช้ข วดน มท ี่บ ริโภคแ ล้วกล ับม าบ รรจุใหม่ ในป ระเทศอ ังกฤษม ีก ารนำก ลับม าใ ช้ซ ้ำไม่น ้อยก ว่า 12 ครั้ง
หรอื ในป ระเทศฟ ินแลนดม์ กี ารนำข วดน ้ำด ืม่ ก ลบั ไปบ รรจใุ หม่ สูงถ งึ 50 เที่ยว เปน็ ตน้ ทั้งส องต ัวอย่างท ีเ่กดิ ข ึ้นย ่อมช ่วย
ลดการใช้ท รัพยากรธรรมชาติที่ใช้เป็นวัตถุดิบในก ารผ ลิตว ัสดุบรรจุภัณฑ์ได้ และม ีส่วนช ่วยการร ักษาสิ่งแวดล้อม
4.2 การบ รรจใุ หมโ่ ดยผบู้ รโิ ภคทจี่ ดุ ขาย วธิ กี ารนำเอาบ รรจภุ ณั ฑใ์ ชแ้ ลว้ กล บั ม าบ รรจใุ หมด่ ว้ ยต วั ผบู้ รโิ ภคเอง
ยังไมไ่ด้ร ับก ารย อมรับอ ย่างท ั่วถ ึงเมื่อเทียบก ับร ะบบก ารนำก ลับม าผ ลิตใหม่ โดยป กติผ ูบ้ ริโภคน ำบ รรจภุ ัณฑท์ ี่ใชแ้ ล้ว
กล ับม าค นื ใหแ้ กร่ า้ นค ้าเพือ่ ร วบรวมบ รรจภุ ณั ฑจ์ ดั ส ่งใหผ้ ูบ้ รรจสุ นิ คา้ แตร่ ะบบบ รรจใุ หมน่ ี้ ผซู้ ื้อน ำบ รรจภุ ณั ฑท์ ใี่ ชแ้ ลว้
กล บั ม าบ รรจเุ องท จี่ ดุ ข าย ทำใหไ้ มจ่ ำเปน็ ต อ้ งซ ือ้ ส นิ คา้ ใหมด่ ว้ ยบ รรจภุ ณั ฑใ์ หม่ ในแ งข่ องผ ผู้ ลติ ส นิ คา้ ท จี่ ดั ส ง่ ในร ะบบน ี้
จำเปน็ ต อ้ งบ รรจสุ นิ คา้ เปน็ ห นว่ ยใหญข่ ึน้ เมือ่ ผ ซู้ ือ้ บ รโิ ภคห มดแ ลว้ น ำบ รรจภุ ณั ฑก์ ลบั ม าจ ดุ ข ายใหแ้ บง่ บ รรจใุ หมก่ นั เอง
ดังแ สดงในภ าพท ี่ 1.15 ระบบน ี้เริ่มม ีใช้ในเมืองไทยเมื่อไม่ก ี่ป ีท ี่ผ ่านม า โดยท ำเป็นต ู้ห ยอดเหรียญส ำหรับแ บ่งจ ำหน่าย
น้ำดื่มตามจุดขาย ในแหล่งช ุมชนต่าง ๆ ของป ระเทศท ี่พ ัฒนาแ ล้ว ระบบนี้ใช้มานานก ว่า 10 ปี ด้วยการป ระยุกต์ใช้กับ
ธรุ กจิ เครือ่ งส ำอางแ ละย าก อ่ น แตไ่ มไ่ ดร้ บั ก ารย อมรบั เทา่ ท คี่ วร ในป จั จบุ นั น ยี้ งั ม ใี ชบ้ า้ งในธ รุ กจิ อ าหารเสรมิ สขุ ภ าพห รอื
อาห าร ออ ร์แกนิก (organic food) ซึ่งเป็นอาหารท ี่ผลิตโดยไม่ใช้กระบวนต่าง ๆ ทีใช้สารเคมี สารส ังเคราะห์ รวมท ั้ง
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช