Page 52 - แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 1
P. 52

1-42 แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

ตารางที่ 1.1 เปรยี บเทยี บลกั ษณะเด่นของพัฒนาการเฉพาะวัยของวัยเดก็ วยั รนุ่ และวัยผใู้ หญ่

             วัย  เด็ก วัยร่นุ                                  ผใู้ หญ่             สงู อายุ
พัฒนาการด้าน
ร่างกาย           ค่อยๆ พัฒนา          พัฒนาอย่างรวดเร็ว    พัฒนาช้าลงกว่า       เริ่มเสื่อมลง
สติปัญญา          อย่างต่อเนื่องสมํ่า  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง    2 วัยแรก
                  เสมอ                 ลักษณะที่                                 พัฒนาความคิดที่
สังคม                                  บ่งบอกเพศ            พัฒนาความ            สมเหตุสมผลมาก
                  พัฒนาอย่างต่อ                             คิดที่สมเหตุ         ขึ้น และมีความ
อารมณ์            เนื่องและเป็น        พัฒนาความคิด         สมผลมากขึ้น          คิดเชิงวิเคราะห์
                  ความคิด              ที่เป็นเหตุผลเชิง    และมีความคิด         สังเคราะห์มากขึ้น
                  เชิงรูปธรรมเป็น      นามธรรมได้มาก        เชิงวิเคราะห์        ที่สุด
                  ส่วนใหญ่                                  สังเคราะห์มาก
                                                            ขึ้น                 ความสัมพันธ์ใน
                  ความสัมพันธ์ใน       ความสัมพันธ์ใน                            สังคมมักอยู่ใน
                  สังคมอยู่ในวง        สังคมมักอยู่ใน       ความสัมพันธ์         บุคคลกลุ่มอายุ
                  แคบและมักได้         บุคคลกลุ่มอายุใกล้   ในสังคมขยาย          ใกล้เคียงกัน
                  อิทธิพลมาจาก         เคียงกัน และได้รับ   วงกว้างมากขึ้น
                  การอบรมเลี้ยงดู      อิทธิพลจาก           ตามอาชีพ             มีความสงบเยือก
                  จากครอบครัว          กลุ่มสูง                                  เย็นมากขึ้นและ
                                                            มีความสงบ            สามารถควบคุม
                  ขึ้นอยู่กับความ      รุนแรง อ่อนไหว       เยือกเย็นมาก         อารมณ์ได้ดีขึ้น
                  สามารถในการ          ง่าย ขึ้นอยู่กับการ  ขึ้นและสามารถ        กว่าวัยที่ผ่านมา
                  ปรับตัวและผล         ได้รับการยอมรับ      ควบคุมอารมณ์         ได้ดีมากที่สุด
                  จากการอบรม           จากกลุ่ม             ได้ดีขึ้นกว่าวัยที่
                  เลี้ยงดู                                  ผ่านมา

2. 	ประสบการณ์ชวี ติ ตามวัย

       บุคคลในแต่ละวัยจะมีประสบการณ์ชีวิตต่างกัน กล่าวคือ ประสบการณ์สำ�หรับวัยเด็กยังอยู่ในวง
แคบ คือ ส่วนใหญ่จะเป็นประสบการณ์จากปฏิสัมพันธ์และการอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว การคบเพื่อนใน
โรงเรียนยังไม่เกาะเป็นกลุ่มถาวรนัก ลักษณะการเข้าสังคมภายในกลุ่มยังได้รับอิทธิพลจากการปลูกฝังหรือ
การอบรมจากครอบครัวอยู่มาก
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57