Page 60 - แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 1
P. 60

1-50 แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

2. 	ทฤษฎีการปรึกษาท่ีใชใ้ นการใหก้ ารปรกึ ษาเชิงจิตวิทยา

       สำ�หรับชุดวิชานี้ คณะกรรมการบริหารและผลิตชุดวิชาแนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการ
ปรึกษาเชิงจิตวิทยาระดับบัณฑิตศึกษาของแขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา สาขาวิชา
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2553) ได้เลือกเฉพาะบางทฤษฎีมานำ�เสนอ โดยจำ�แนก
ได้เป็น 4 กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาคือ

       1. 	กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นความคิดและเหตุผล ซึ่งได้แก่ ทฤษฎีการปรึกษาต่อไปนี้
            1.1 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบ
            1.2 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม
            1.3 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบวิเคราะห์สัมพันธภาพ

       2. 	กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นอารมณ์และความรู้สึก ซึ่งได้แก่ ทฤษฎีการปรึกษาต่อไปนี้
            2.1 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบจิตวิเคราะห์
            2.2 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
            2.3 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบเกสตัลท์
            2.4 	ทฤษฎีการปรึกษาแบบภวนิยม

       3. 	กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งได้แก่ ทฤษฎีการปรึกษาต่อไปนี้
            ทฤษฎีการปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม
            ทฤษฎีการปรึกษาแบบเผชิญความจริง

       4. 	ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัว
            4.1 	ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบพลวัตทางจิต (Psychodynamic Model)
            4.2 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบการเชื่อมโยงระหว่างรุ่น (Transgenerational

Model)
            4.3 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบประสบการณ์นิยม (Experiential Model)
            4.4 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบโครงสร้าง (Structural Model)
            4.5 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบกลยุทธ์ (Strategic Model)
            4.6 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบระบบมิลาน (The Milan Systemic Model)
            4.7 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบพฤติกรรม การรู้คิด-พฤติกรรม (Behavioral

and Cognitive-Behavioral Models)
            4.8 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวที่มุ่งเน้นคำ�ตอบ (Solution-Focused Thrapy)
            4.9 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวโดยการเล่าเรื่อง (Narrative Therapy)
            4.10 ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบการศึกษาเชิงจิตวิทยา (Psychoeducational

Model)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65