Page 101 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 101
การวิเคราะห์แ ละก ารแปลผ ลข้อมูล 11-91
แต่ Atlas.ti แก้ปัญหาดังก ล่าวได้ทั้งหมด โดยนักว ิชาการที่เขียนบทความ เรื่อง “การใช้โปรแกรม Atlas/ti
ในการช ่วยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงค ุณภาพ” (www.apa.sru.ac.th/research.aslas.doc) สรุปข้อได้เปรียบข อง
ATLAS/ti ไว้ ดังนี้
1. สามารถใช้งานกับภาษาไทยได้โดยสมบูรณ์แ บบ ไม่มีปัญหาหรือข้อผิดพ ลาดใด ๆ
2. ทำ�งานภายใต้ระบบปฏิบัติการ Windows ทำ�ให้ใช้งานได้มากกว่าโปรแกรม Ethnograph ที่
ทำ�งานในระบบปฏิบัติก าร DOS สามารถใช้เมาส์ค ลิกคำ�สั่งต่าง ๆ ได้การเรียนร ู้ว ิธีใช้ง านจึงเร็วกว่า
3. สามารถใชว้ เิ คราะหข์ ้อมลู ท เี่ ป็นท ั้งข อ้ ความต ัวอ ักษร รูปภาพ เสียง วดิ โี อ ในข ณะท ี่ Ethnograph
สามารถวิเคราะห์ได้เฉพาะข้อมูลท ี่เป็นข้อความตัวอักษรอย่างเดียวเท่านั้น
4. สามารถต ั้งชื่อรหัส (Codes) เป็นภาษาไทยความย าวเท่าไรก็ได้ ในขณะท ี่ Ethnograph จะต ้อง
ตั้งชื่อเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษที่มีความยาวไม่เกิน 10 ตัวอ ักษร ทำ�ให้ผู้ใช้สิ้นเปลืองเวลาในการคิดระบบ
การตั้งช ื่อเพื่อให้ส ื่อความหมาย
5. หน่วยเล็กท ี่สุดของก ารลงรหัส (Coding) ก็คือ 1 ตัวอักษร ในขณะท ี่ Ethnograph ใช้ร ะบบ
การอ ้างอิงเป็นเลขบ รรทัด หน่วยเล็กที่สุดในก ารลงร หัสจ ึงเป็น 1 บรรทัด ดังน ั้น ถ้าต้องการล งรหัสเฉพาะค ำ�
หรือข้อความที่มีค วามย าวไม่ถ ึงห นึ่งบรรทัด ใน Ethnograph ต้องล งรหัสอ ้างอิงถ ึงบ รรทัดนั้นทั้งบ รรทัด ไม่
สามารถอ้างถึงข้อความหรือคำ�นั้นโดยตรง
6. การเตรีย มไฟล์ข้อมูลไม่ต้องแ ทรกเลขบรรทัดกำ�กับ เพราะเวลาก ำ�หนดไฟล์ข ้อมูลโปรแกรมจ ะ
ทำ�การแทรกให้โดยอ ัตโนมัติ แต่ Ethnograph ถ้าไฟล์ข ้อมูลไม่ได้แทรกเลขบรรทัดมา ต้องใช้โปรแกรมอื่น
ช่วยแ ทรกเลขบรรทัดก ่อนจึงจ ะใช้งานได้
7. สามารถใช้ทั้งในการลงรหัสข้อความเรียกดู (Code and Retrieve Text) และใช้ในการสร้าง
ทฤษฎี (Theorizing) โดยสร้างค วามสัมพันธ์เชื่อมโยงก ันร ะหว่างร หัสต ่าง ๆ ได้ ซึ่งเป็นจ ุดได้เปรียบท ี่สำ�คัญ
ประการหนึ่งของโปรแกรมนี้ ในขณะท ี่ Ethnograph ถูกออกแบบมาให้เป็นเพียงแค่โปรแกรมสำ�หรับลงร หัส
และเรียกดูข ้อความเท่านั้น
การทำ�งานข อง Atlas.ti มีข ั้นตอนหลัก ดังต ่อไปน ี้
1. เปิดโปรแกรม Atlas.ti
2. ใส่ไฟล์พื้นฐานสำ�หรับวิเคราะห์ลงในโปรแกรม โดยไฟล์ที่ Atlas.ti สามารถวิเคราะห์ได้ คือ
1) ไฟล์ word ซึ่งต ้องแ ปลงให้เป็นไฟล์แ บบ plain text ก่อน 2) ไฟล์เสียง เช่น .mp3 และไฟล์เสียงอื่น ๆ
3) ไฟล์ภาพแ ละภาพเคลื่อนไหว 4) ไฟล์ Acrobat (เฉพาะ version 6 ขึ้นไป)
3. ดำ�เนินการวิเคราะห์ด้วยการลงรหัส (code) โดยเรียกไฟล์พื้นฐานที่ลงไว้ในโปรแกรมแล้วขึ้น
มาที่ละไฟล์แล้วอ่าน/ฟัง/ดู เพื่อตีความและให้รหัสกับข้อความ/เสียง/ภาพ ในส ่วนที่เลือก โดยการลงรหัส
ใน Atlas.ti สามารถลงรหัสได้หลายวิธี เช่น 1) การลงรหัสแบบกำ�หนดขึ้นเองอย่างอิสระ (open code)
2) ลงรหัสโดยใช้รหัสที่ก ำ�หนดไว้แ ล้ว (code list) 3) ลงรหัสแ บบใช้คำ�ในข้อความม าเป็นร หัส (vivo code)
4) การล งร หัสแ บบเร็ว (quick code) ซึ่งเป็นการใช้ร หัสเหมือนก ับรหัสที่ใช้ค รั้งล่าสุด และ 5) การล งรหัส
แบบอ ัตโนมัติ (auto code)