Page 98 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 98

11-88 การวิจัยการบริหารการศึกษา

          4) 	ครศู ลิ ปะขาดขวญั ก�ำ ลงั ใจในการท�ำ งาน ครศู ลิ ปะทีเ่ ขา้ รว่ มสนทนากลุม่ สะทอ้ นขอ้ มลู วา่ ครศู ลิ ปะ
  ส่วนใหญ่ขาดขวัญกำ�ลังใจในการปฏิบัติงานเนื่องจากผู้บริหารมักไม่ให้ความสนใจเท่ากับกลุ่มสาระการเรียนรู้
  หลกั โดยครทู า่ นหนงึ่ กลา่ ววา่ “...ขวญั ก�ำ ลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ านของครสู าขานไ้ี มค่ อ่ ยมี เพราะผบู้ รหิ ารไมใ่ หค้ วาม
  สนใจเท่าครทู ส่ี อนวิชาหลกั แตค่ รทู ส่ี อนวิชานี้ สว่ นมากเปน็ ผมู้ ใี จรัก สอนเพราะรัก ชอบในกลุ่มวชิ าเหล่านี้
  ...” นอกจากสาเหตุข้างต้นแล้ว การได้รับเงินเดือนน้อยและขาดสวัสดิการที่ดีก็เป็นปัจจัยสำ�คัญที่ครูศิลปะ
  ระบุว่าเป็นเหตุให้ครูขาดขวัญกำ�ลังใจในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะครูในโรงเรียนเอกชนที่ผู้บริหารที่เข้าร่วม
  สนทนากลุ่มให้ข้อมูลว่าครูโรงเรียนเอกชนจะมีเงินเดือนน้อยกว่าโรงเรียนรัฐบาลทำ�ให้มีอัตราการลาออกสูง

          5)	 ครูศิลปะบางส่วนขาดประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารบางคนเห็นว่าตัวครูศิลปะเองเป็นคนไม่มี
  ประสิทธิภาพ ไม่มีความสามารถในการทำ�ให้วิชาของตนประสบความสำ�เร็จและน่าสนใจ ทำ�ให้ทั้งผู้บริหาร
  ผู้เรียนและชุมชนไม่ให้ความสำ�คัญ นอกจากนี้ยังมองว่าครูศิลปะบางคนเฉื่อยชา ไม่ค่อยรับผิดชอบ
  ทำ�งานล่าช้า ส่งงานไม่ทันเวลา

          6)	 ผบู้ รหิ าร เพื่อนครูและผู้ปกครองไม่ให้ความสำ�คัญกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เนื่องจากกลุ่ม
  สาระการเรียนรู้ศิลปะไม่ใช่กลุ่มสาระหลักทำ�ให้ผู้บริหาร เพื่อนครู ผู้ปกครองและชุมชนไม่ให้ความสำ�คัญ
  ส่งผลให้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากโรงเรียนน้อย ยกเว้นบางโรงเรียนที่มีชื่อเสียงจากงานศิลปะของ
  นักเรียนจะได้รับการส่งเสริมสนับสนุนอย่างดี

          การที่ผู้บริหารไม่ให้ความสำ�คัญทำ�ให้กลุ่มสาระนี้ไม่ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนเท่าที่ควร เมื่อ
  ขาดแคลนครูศิลปะผู้บริหารก็แก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยการจัดครูที่จบวิชาเอกอื่นมาสอน ซึ่งเรื่องนี้ครูศิลปะ
  ทา่ นหนึง่ กลา่ ววา่ “...การจดั คนลงสอนของผบู้ รหิ ารมกั จะนำ�คนทไี่ มเ่ กง่ มาสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เชน่
  ครวู ิทยท์ ่ีไมเ่ ก่ง ครูคณิตท่ีสอนไม่ดี เปน็ ต้น”

          นอกจากผู้บริหารแล้วเพื่อนครูและผู้ปกครองก็ไม่ให้ความสำ�คัญกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
  เหตุเพราะไม่ใช่กลุ่มสาระหลักทำ�ให้ไม่ค่อยได้รับความร่วมมือและการส่งเสริมสนับสนุนเท่าที่ควร สำ�หรับ
  ครูศิลปะเองก็มีบุคลิกเฉพาะตัวส่วนใหญ่จะมีความเป็นตัวของตัวเองสูงซึ่งเป็นธรรมชาติของคนที่เรียนใน
  ศาสตร์ประเภทนี้ ลักษณะเช่นนี้ทำ�ให้ถูกมองว่าเป็นคนที่ไม่ค่อยรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น

          7)	 ครูศิลปะไม่ค่อยได้รับการพัฒนา ครูศิลปะสะท้อนว่า ตั้งแต่มีการปฏิรูปการศึกษาและปรับ
  โครงสร้างระบบการบริหารเป็นเขตพื้นที่การศึกษาเป็นต้นมา นอกจากทำ�ให้ครูมีภาระงานมากขึ้นแล้วครูยัง
  ไมค่ อ่ ยไดร้ บั การพัฒนา ไม่ไดร้ ับการอบรมเพิ่มพนู ความรู้และประสบการณ์ทางการสอน เมื่อมกี ารอบรมก็มัก
  จะเป็นไปตามความต้องการของต้นสังกัดไม่ใช่ตามความต้องการของครู นอกจากนี้ครูยังไม่ได้รับการนิเทศ
  จากศึกษานิเทศก์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะวิชาโดยตรง ยกเว้นครูศิลปะที่สังกัดกรุงเทพมหานครที่ให้ข้อมูล
  ว่าได้รับการอบรมพัฒนาอย่างสมํ่าเสมอ

          ส�ำ หรบั ปญั หานี้ ศกึ ษานเิ ทศกท์ ีร่ บั ผดิ ชอบกลุม่ ศลิ ปะใหข้ อ้ มลู เพิม่ เตมิ วา่ การจดั อบรมสมั มนาครใู น
  กลุ่มสาระนี้ทำ�ไดย้ าก และตอ้ งใช้งบประมาณจำ�นวนมากในแต่ละครั้ง เนื่องจากเกี่ยวข้องกับเรือ่ งสถานที่ วสั ดุ
  อุปกรณ์ในการฝึกอบรมและวิทยากรที่ต้องมีความสามารถเฉพาะทาง ทำ�ให้ไม่สามารถจัดอบรมได้บ่อย ๆ
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103