Page 93 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 93
การว ิเคราะห์แ ละการแปลผลข้อมูล 11-83
2.2.2 ปรับปรุงบัญชีดัชนี หลังจากที่นักวิจัยเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูลไประยะหนึ่ง นักวิจัยจะ
พบว ่าด ัชนบี างต ัวต นเองส ร้างไวก้ ่อนเก็บร วบรวมข ้อมูลม คี วามไมส่ อดคล้องก ับป รากฏการณจ์ ริง หรือไม่ต รง
กับทัศนะของคนใน (emic) เช่น ครูที่ให้ข ้อมูลใช้ค ำ�ว่า “การสอบNT” แทนคำ�ว่า “การท ดสอบร ะดับช าติ”
เป็นต้น ซึ่งน ักว ิจัยจ ะต ้องป รับปรุงด ัชนีในบ ัญชีข องต น โดยอ าจเปลี่ยนค ำ�ตามส ิ่งท ี่ค นในใช้ เพิ่มค ำ�หรือเพิ่ม
ความหมายต ามท ัศนะของค นในเข้าไปในบ ัญชีด ัชนี ทั้งนี้แ ล้วแต่ความเหมาะสม
2.2.3 เพ่ิมหรือตัดคำ�ในบัญชีดัชนี เป็นการกระทำ�ที่ต่อเนื่องจากการปรับปรุงบัญชีดัชนี โดย
เมื่อนักวิจัยใช้ด ัชนีไปร ะยะหนึ่ง จะพบว่าม ีด ัชนีบางต ัวน ักวิจัยไม่ได้ก ำ�หนดไว้เกิดขึ้น เช่น พบว ่าปัญหาข อง
ผู้เรียนท ี่พบป ระการห นึ่งค ือ “ผู้เรียนม ีส มาธิส ั้น” แต่ด ัชนีคำ�นี้ไม่ได้ก ำ�หนดไว้ นักวิจัยจะต ้องเพิ่มดัชนีค ำ�นี้
เข้าไปในบัญชีดัชนี และดัชนีบางตัวถูกกำ�หนดไว้แต่ไม่พบในสนามวิจัย นักวิจัยจึงควรปรับปรุงบัญชีดัชนี
ด้วยการเพิ่มและต ัดด ัชนีบางต ัวตามความเหมาะส ม
2.2.4 จัดทำ�คำ�จำ�กัดความของดัชนีแต่ละตัว เป็นการให้ความหมายของดัชนีแต่ละตัวว่ามี
ความห มายอ ย่างไร ครอบคลุมเนื้อหาอ ะไรบ้าง
2.2.5 ท�ำ ดชั นใี นบ นั ทกึ ภ าคส นาม เป็นการจ ัดห มวดห มูข่ ้อมูลท ีเ่ก็บม า โดยน ักว ิจัยอ ่านบ ันทึก
ภาคส นามแ ละใหด้ ัชนไีวห้ ลังห รือห น้าข ้อความท ีบ่ ันทึกม า การท ำ�ดัชนนี ีค้ วรก ระทำ�ทุกว ันท ีไ่ดข้ ้อมูลม าเพื่อไม่
ให้เกิดการห มักหมมข้อมูล และการท ำ�ดัชนีข้อมูลช ่วยให้น ักวิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลอ ย่างส มํ่าเสมอ ส่งผ ลให้
นักวิจัยได้ทดสอบสมมติฐานเดิม สร้างสมมติฐานใหม่ และเกิดคำ�ถามใหม่ ๆ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ต่อ ๆ ไป
ในท นี่ ขี้ อย กต วั อยา่ งก ารท �ำ ดชั นบี นั ทกึ ภ าคส นาม จากก ารจ ดั ส นทนาก ลุม่ “โครงการว จิ ยั เรือ่ ง
สภาพป ญั หาแ ละแ นวทางแ กป้ ญั หาก ารจ ดั การเรยี นก ารส อนท สี่ ง่ ผ ลต อ่ ก ารพ ฒั นาค ณุ ภาพผ เู้ รยี นในร ะดบั ก าร
ศึกษาข ั้นพื้นฐ าน” (สำ�นักงานเลขาธิการสภาก ารศึกษา. 2552) ซึ่งผ ู้เขียนเป็นทีมน ักวิจัยเรื่องน ี้ โดยก ารว ิจัย
ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ก ารวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศ ึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งผล
ต่อก ารพัฒนาค ุณภาพผ ู้เรียนในระดับการศ ึกษาขั้นพื้นฐ าน และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาการจัด
การเรียนการส อนท ี่ส่งผลต่อก ารพ ัฒนาคุณภาพผ ู้เรียนในร ะดับการศึกษาข ั้นพ ื้นฐาน