Page 91 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 91
การว ิเคราะห์แ ละการแปลผลข้อมูล 11-81
3. เมื่อได้ข ้อมูลแบบ ข. ซึ่งตรงกันข ้ามก ับข ้อมูลแบบ ก. แล้ว นักวิจัยยังต ้องหาข้อมูลท ี่แ ตก
ต่างจ ากแ บบ ก. และ แบบ ข. ต่อไป โดยเรียกข ้อมูลข้อมูลช นิดนี้ว ่า ข้อมูลแบบ ค. (synthesis) วิธีการห า
ข้อมูลแ บบ ค. นี้ใช้ห ลักก ารเดียวกันก ับวิธีการหาข้อมูลแบบ ข. โดยถ ือว่าข ้อมูลใด ๆ ก็ตามที่แ ตกต ่างจ าก
ข้อมูลแบบ ก. และข ้อมูลแ บบ ข. จัดว่าเป็นข ้อมูลแบบ ค. ทั้งส ิ้น และข้อมูลแบบ ค. นี้เองท ี่ช ่วยอธิบายถึง
เงื่อนไขห รือเหตุผลข องข้อมูลแบบ ก. และ ข้อมูลแ บบ ข.
2.1.2 การต รวจส อบข อ้ มลู ด ว้ ยว ธิ กี ารอ น่ื นอกจากก ารต รวจส อบแ บบส ามเส้าแ ล้ว ยงั ม วี ิธกี าร
ตรวจส อบข ้อมูลในก ารวิจัยเชิงคุณภาพอีกห ลายวิธี ซึ่ง Merriam (1998: 204-205) เสนอไว้อีก 5 วิธี คือ
1) การนำ�ข้อมูลก ลับไปให้ผ ู้ให้ข ้อมูลต รวจส อบ (member checks) เป็นการน ำ�ข้อมูล
หรือส ิ่งท ีต่ ีความจ ากข ้อมูลก ลับไปใหผ้ ูใ้หข้ ้อมูลห รือส มาชิกในช ุมชนท ีศ่ ึกษาต รวจส อบว ่าต รงต ามค วามห มาย
ของค นในช ุมชน
2) การส ังเกตด ้วยร ะยะเวลาท ี่ย าวนาน (long-term observation) คือการใช้เวลาอ ยู่
ในสนามวิจัยให้ย าวนานเพียงพอที่จะตรวจส อบซ ํ้าจ นแ น่ใจว่าได้ข ้อมูลท ี่ได้ตรงค วามเป็นจ ริง
3) การให้ก ลุ่มร ่วมต รวจส อบ (peer examination) คือ การให้ส มาชิกในก ลุ่มน ักว ิจัย
ให้ความเห็นต ่อข้อค้นพ บ
4) การให้ผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยช่วยสรุปผล (participatory or collaborative
modes of research) คือ การให้กลุ่มนักวิจัยและสมาชิกในชุมชนที่วิจัยช่วยกันสรุปหรือให้ความหมาย
ข้อมูล ซึ่งวิธีการนี้เหมาะก ับก ารว ิจัยแบบม ีส่วนร ่วม (participatory research)
5) การให้นักวิจัยน อกทีมช ่วยต รวจส อบความม ีอคติ (researcher’s bias) หมายถึง
การให้น ักว ิจัยท ี่ไม่ได้อ ยู่ในก ลุ่มท ี่เก็บร วบรวมข้อมูลช ุดน ี้เป็นผ ู้อ ่านแ ละต รวจส อบว ่าการต ีความแ ละข ้อส รุป
ที่ได้เกิดจ ากอ คติข องนักวิจัยหรือไม่
2.2 การทำ�ดัชนีข้อมูล (indexing) เมื่อนักวิจัยได้ข้อมูลมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นบันทึกการสัมภาษณ์
การส ังเกต การส นทนากลุ่ม หรือข ้อมูลอ ื่น ๆ สิ่งท ี่น ักว ิจัยควรก ระทำ�คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นซึ่งควร
ทำ�ทุกวันท ี่ได้ข ้อมูลมา โดยข ั้นแ รกของก ารว ิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น คือ การท ำ�ดัชนีข ้อมูล (indexing)
การท ำ�ดัชนีข้อมูลอ าจเรียกช ื่ออ ย่างอ ื่นได้อีก เช่น การทำ�รหัส (coding) การกำ�หนดคำ�หลัก (key
words) หรอื ก ารค น้ หาป ระเดน็ (finding item) เปน็ ตน้ โดยค วามห มายข องก ารท �ำ ดชั นขี อ้ มลู ก ค็ อื ก ารเลอื กค �ำ
หรือข้อความมาจัดหมวดหมู่ข้อมูล โดยคำ�หรือข้อความดังกล่าวมีความหมายครอบคลุมข้อมูลส่วนนั้น ๆ
ในก ารทำ�ดัชนีข้อมูลน ั้น ผู้เขียนใช้กระบวนการ 5 ขั้นต อนของ สุภางค์ จันท วานิช (2543: 45–46) ซึ่งม ีวิธีการ
โดยส รุปดังนี้
2.2.1 จดั ท �ำ ดชั นกี อ่ นเกบ็ ข อ้ มลู เปน็ การส รา้ งร ายการข องค �ำ หรอื ข อ้ ความ ไวช้ ดุ ห นึง่ ป ระมาณ
80–90 คำ� เพื่อนำ�มาใช้เป็นดัชนีของข้อมูล โดยคำ�ดังก ล่าวมาจ ากกรอบแ นวคิดทฤษฎีต ่าง ๆ ที่น ักวิจัยศึกษา
ไว้ก่อนที่จะเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างเช่น การทำ�วิจัยเรื่อง “สภาพปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการจัด
การเรียนการสอนที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ดัชนีอาจแบ่งเป็น
2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1) กลุ่มดัชนีท ี่ร ะบุส ภาพแ ละป ัญหาในก ารจ ัดการเรียนก ารส อน และ 2) กลุ่มดัชนแี นวทาง
การแ ก้ป ัญหาการจัดการเรียนการส อน