Page 90 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 90

11-80 การวิจัยการบริหารการศึกษา

            สุ​ภางค์ จัน​ทวา​นิช (2544: 32–36) ได้​เสนอ​ภาพ​และ​อธิบาย​เรื่อง​การ​ตรวจ​สอบ​ข้อมูล​แบบ
​สาม​เส้า​ไว้​อย่าง​ละเอียด โดย​ได้​แสดง​ถึง​ลักษณะ​ของ​ข้อมูล 3 แบบ ซึ่ง​เป็น​ที่มาของ​การ​เรียก​ชื่อ​วิธี​การ
​ตรวจส​ อบแ​ บบ​สามเ​ส้า ดังภ​ าพแ​ ละค​ ำ�​อธิบาย ต่อไ​ปน​ ี้

                 ข้อมูลแ​ บบ ค.                   	 ค2	 ค	 ค1	 ค3

ข้อมูลแ​ บบ ก.	                  ข้อมูลแ​ บบ ข.   ก. ข.
                                                     การต​ รวจส​ อบส​ ามเ​ส้า​ภาพท​ ี่​สอง
	 การ​ตรวจส​ อบ​แบบส​ าม​เส้าภ​ าพท​ ี่ห​ นึ่ง 	

                           ภาพ​ท่ี 11.11 การ​ตรวจ​สอบข​ ้อมลู ​แบบส​ าม​เส้า

ท่ีมา: สุภ​ างค์ จันท​ วา​นิช. 2544: 33.

            ในภ​ าพท​ ี่ห​ นึ่ง จะเ​ห็นไ​ด้ว​ ่าข​ ้อมูลช​ ุดแ​ รกท​ ี่น​ ักว​ ิจัยไ​ด้ม​ าค​ ือข​ ้อมูลแ​ บบ ก. หลังจ​ ากน​ ั้นน​ ักว​ ิจัย​
ก็พ​ ยายามแ​ สวงหาข​ ้อมูลจ​ ากแ​ หล่ง​อื่น ๆ ที่​แตก​ต่าง​ในท​ าง​ตรง​กัน​ข้าม​กับ​แหล่ง ก. ได้​เป็นข​ ้อมูล​แบบ ข. แต​่
นักว​ ิจัยไ​มย่​ ุตกิ​ ารต​ รวจส​ อบเ​พียงแ​ คน่​ ั้น ยังค​ งแ​ สวงหาต​ ่อไ​ปว​ ่าม​ ขี​ ้อมูลอ​ ื่นใ​ดอ​ ีกบ​ ้างท​ ีแ่​ ตกต​ ่างไ​ปจ​ ากแ​ บบ ก.
และแ​ บบ ข. จน​ทำ�ให้ไ​ด้ข​ ้อมูลแ​ บบ ค. ใน​ที่สุด วิธี​การต​ รวจส​ อบข​ ้อมูลแ​ บบส​ ามเ​ส้าจ​ ึงม​ ีล​ ักษณะ​เช่นเ​ดียว​กับ​
หลกั ว​ ภิ าษว​ ธิ ี (dialectical method) กลา่ วค​ อื แ​ นวคดิ แ​ บบ ก. เปน็ Thesis แนวคดิ แ​ บบ ข. เปน็ Antithesis
และ​แนวคิด​แบบ ค. ซึ่งเ​ป็นการ​สังเคราะห์​ลักษณะข​ อง​ทั้ง ก. และ ข. มาก​ลาย​เป็น Synthesis

            สำ�หรับ​ภาพ​ที่ส​ อง ซึ่ง​ข้อมูลแ​ บบ ค. มี​ทั้ง ค1, ค2, ค3 และ ค4 นั้น สุ​ภางค์ จัน​ทวา​นิช (2544:
35) อธิบาย​ว่า ข้อมูล​แบบ ค. อาจ​มี​ได้​หลาย​แบบ ซึ่ง​หมาย​ถึง​มี​เนื้อหา​แตก​ต่าง​กัน​ไป แต่​ก็​ยัง​คง​จัด​ว่า​เป็น​
ข้อมูลแ​ บบ ค. ไม่ข​ ยาย​เป็นแ​ บบ ง. จ. หรือ ฉ. โดย​ยัง​ยึดห​ ลัก​สามเ​ส้าอ​ ยู่​เช่นเ​ดิม

            โดยส​ รุป​แล้ว การ​ตรวจส​ อบ​แบบส​ าม​เส้า ก็ค​ ือ​วิธีก​ ารท​ ี่​ช่วย​ให้น​ ัก​วิจัยเ​ชิงค​ ุณภาพไ​ด้ข​ ้อมูล​ที​่
ตรงก​ ับ​ความเ​ป็น​จริงม​ ากท​ ี่สุด มี​หลัก​การส​ ำ�คัญ​คือ

            1.	 นัก​วิจัย​ไม่​ควร​ปักใจ​เชื่อ​ข้อมูล​ที่​ได้​รับ​มา​ครั้ง​แรก​ซึ่ง​เรียก​ว่า ข้อมูล​แบบ ก. (thesis) ว่า​
เป็นค​ วามจ​ ริง

            2. 	นกั ว​ จิ ยั ต​ อ้ งพ​ ยายามห​ าข​ อ้ มลู ท​ ตี​่ รงก​ นั ข​ า้ มก​ บั ข​ อ้ มลู แ​ บบ ก. ซึง่ ข​ อ้ มลู ช​ นดิ น​ เี​้ รยี กว​ า่ ข​ อ้ มลู ​
แบบ ข. (anti thesis) การท​ ี่​จะไ​ด้​ข้อมูล​แบบ ข. มาอ​ าจ​ต้องใ​ช้​วิธี​การ​ที่​แตก​ต่าง​กัน เช่น แตก​ต่าง​กันใ​น​เรื่อง​
แหล่งข​ ้อมูล ผู้ใ​ห้ข​ ้อมูล ระยะเ​วลา สถานท​ ี่ ผู้เ​ก็บร​ วบรวมข​ ้อมูล กรอบแ​ นวคิดท​ ฤษฎี หรือวิธีก​ ารใ​นก​ ารเ​ก็บ​
รวบรวมข​ อ้ มลู เชน่ ครัง้ แ​ รกเ​กบ็ ร​ วบรวมข​ อ้ มลู ด​ ว้ ยก​ ารส​ มั ภาษณ์ ตอ่ ม​ าเ​กบ็ ด​ ว้ ยก​ ารส​ งั เกตแ​ ละศ​ กึ ษาเ​อกสาร​
เป็นต้น
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95