Page 85 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 85
การว ิเคราะห์และก ารแปลผลข้อมูล 11-75
ไม่เล่นด้วย ไม่ท านอาหารด้วย และไม่น ั่งเรียนด ้วย จนในที่สุดเด็กคนน ั้นต้องออกจ ากโรงเรียนไป ข้อค ้นพ บ
ดังกล่าวจะก ลายเป็นสมมติฐานใหม่ที่ใช้ส ำ�หรับการค ้นหาข ้อมูลต ่อไป
ขนั้ ท ี่ 5 ดำ�เนินก ารห าข อ้ มูลแ ละป รับปรุงส มมติฐานต ่อไปจ นกว่าจ ะไดข้ ้อส รปุ ท ีส่ ามารถอ ธิบายข ้อมูล
ได้ท ั้งหมด
นักวิจัยยังคงค้นหาข้อมูลต่อไปตามสมมติฐานที่ปรับใหม่ หากพบข้อมูลใหม่นักวิจัยจะต้องปรับ
สมมติฐานให้สามารถอธิบายข้อมูลได้ทั้งหมด และดำ�เนินการเช่นนี้ไปอีกระยะหนึ่งจนกระทั่งได้ข้อความรู้
ที่อธิบายข้อมูลได้ทั้งหมด โดยข ้อมูลเกิดการ “อิ่มตัว” คือ ได้ข้อมูลซ ํ้า ๆ กับป ระเด็นท ี่เคยค้นพบมาแล้ว
นักวิจัยจ ึงหยุดการเก็บรวบร วมข้อมูลได้
เรอ่ื งท ่ี 11.2.2 การว เิ คราะหเ์ นื้อหาและห ลกั ก ารที่เกี่ยวข้อง
ในส่วนนี้จำ�แนกการนำ�เสนอออกเป็น 2 เรื่องย่อย คือ แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหา และ
แนวทางท ี่เกี่ยวข้องก ับก ารว ิเคราะห์เนื้อหา ดังรายล ะเอียดต ่อไปนี้
1. แนวคดิ เกย่ี วก บั ก ารว เิ คราะห์เนือ้ หา
นักว ิชาการ มีทัศนะเกี่ยวก ารว ิเคราะห์เนื้อหาแตกต ่างกัน สรุปได้ 2 แนวทาง ดังนี้
1.1 การว เิ คราะหเ์ นื้อหา คือ การว ิเคราะห์ข ้อมูลเชิงค ุณภาพ เนื่องจากข ้อมูลเชิงค ุณภาพมักอ ยู่ใน
รูปเนื้อความ คำ�พูด ข้อความ เหตุการณ์ และพฤติกรรมที่เกิดข ึ้นในช ีวิตประจำ�วัน การวิเคราะห์ข้อมูลค ือการ
คน้ หาค วามห มาย จดั ก ลุม่ ค วามห มาย คน้ หาแ บบแผน เชือ่ มโยงค วามส มั พนั ธ์ และส รา้ งข อ้ ส รปุ เพือ่ ต อบโจทย์
วิจัย ดังน ั้น การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจ ึงเรียกรวม ๆ ว่าคือก ารวิเคราะห์เนื้อหา ตัวอย่างของนักว ิชาการ
ที่ยึดถือตามแ นวทางนี้ คือ เมอเรียม (Merriam. 1998: 160) ซึ่งก ล่าวว่า “...In one sense, all qualitative
data analysis is content analysis in that is the content of interview, field notes, and document
that is analyzed...”
ตามความหมายนี้ การวิเคราะห์เนื้อหาก็คือ การอ่านจับประเด็นเพื่อทำ�ความเข้าใจและค้นหา
ความห มายข องข อ้ ความต ามค วามห มายข องค นใน เพือ่ น �ำ ไปส ขู่ อ้ ส รปุ ท เี่ ปน็ การต อบโจทยก์ ารว จิ ยั โดยไมต่ อ้ ง
แปลงข ้อมูลเหล่าน ั้นให้เป็นข ้อมูลต ัวเลข ดังน ั้น ความห มายข องก ารว ิเคราะห์เนื้อหาต ามค วามห มายน ี้จ ึงเป็น
วิธีการเบื้องต้นของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพทุกชนิดก่อนที่จะนำ�เปรียบเทียบ จำ�แนกประเภท หรือ
สร้างเป็นข ้อส รุปแ บบอ ุปนัย โดยผ ู้เขียนแ ละน ักว ิจัยเชิงค ุณภาพส ่วนใหญ่ใช้แ นวทางนี้ในก ารว ิเคราะห์เนื้อหา