Page 80 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 80
11-70 การวิจัยการบริหารการศึกษา
ตัวอย่างเช่น นักวิจัยต้องการศึกษาผลของการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง เล่าเรื่องเมืองนคร
ต่อค วามสามารถในก ารอ ่าน (DV1) และเจตคติต่อท ้องถิ่น (DV2) ของน ักเรียนที่อ ยู่อำ�เภอเมืองก ับชนบท
การต ั้งส มมติฐาน จะตั้งว่าเซน ทรอยด์ (Centroids) ของก ลุ่มตัวอย่างท ั้ง 2 กลุ่มต ่างก ันห รือไม่ โดย
มีส มมติฐานว ่าง ดังนี้
H0 : mA1 = mA2
mB1 mB2
เมื่อ mA คือค่าเฉลี่ยของค ะแนนค วามส ามารถในก ารอ ่าน
mB คือค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติต ่อท้องถิ่น
สถิติท ี่ใช้ท ดสอบม ี 4 ตัว ดังนี้
1. Pillai’s Trace ใช้ในกรณีท ี่ข้อมูลไม่เป็น normal
2. Wilks’ Lambda ใช้หลักเกณฑ์ของ likelihood-ratio มีก ารแจกแจงแบบไคสแควร์ ใช้ทั่วไป
3. Hotelling’s Trace ใช้ทั่วไปเช่นเดียวกับ Wilks’ Lambda
4. Roy’s Largest Root ใช้เมื่อต ัวแปรม ีค วามส ัมพันธ์เชิงเส้น
ถ้า H0 เป็นจ ริง สถิติท ดสอบทั้ง 4 ตัวข ้างต ้นจ ะให้ผลในท ำ�นองเดียวกัน
การว ิเคราะห์ความแ ปรปรวนร่วมพหุ (Multivariate analysis of Covariance: MANCOVA)
การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหุ คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมที่มีตัวแปรตามตั้งแต่
สองต ัวข ึ้นไป
การว เิ คราะหอ์ ิทธพิ ลเชิงสาเหตุ (Path Analysis)
การวิเคราะห์อิทธิพลเชิงสาเหตุ เป็นการวิเคราะห์เชิงเหตุผล โดยนักวิจัยต้องการค้นหาว่าตัวแปร
ตามที่กำ�ลังศึกษานั้น เกิดจากอิทธิพลของตัวแปรอิสระอะไรบ้าง และตัวแปรอิสระนั้นมีอิทธิพลต่อตัวแปร
ตามมากน้อยเพียงใด โดยนักวิจัยสร้างแบบจำ�ลอง หรือแผนภาพแสดงความเป็นเหตุเป็นผลของตัวแปร
เหล่าน ั้น ตัวแปรต ามในแ บบจ ำ�ลองม ีได้ห ลายต ัว ตัวแปรต ามต ัวห นึ่งส ามารถส ่งอ ิทธิพลต ่อต ัวแปรต ามต ัวอ ื่น
เป็นท อด ๆ ดังภาพที่ 11.10 เทคนิคก ารว ิเคราะห์ท ี่นักวิจัยใช้เพื่อว ิเคราะห์ความส ัมพันธ์ของต ัวแปรในแ บบ
จำ�ลองว่าเป็นไปตามส มมติฐานท ี่ตั้งไว้หรือไม่ คือ การว ิเคราะห์อ ิทธิพลเชิงส าเหตุ (Path Analysis)