Page 79 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 79
การวิเคราะห์แ ละการแปลผ ลข ้อมูล 11-69
การว เิ คราะห์จดั ก ลมุ่ (Cluster Analysis)
การว ิเคราะห์จ ัดก ลุ่มเป็นเทคนิคก ารวิเคราะห์ห ลายต ัวแปรท ี่มีวัตถุประสงค์ท ี่จะจ ัดสิ่งของ (Case)
หรือห น่วยต่าง ๆ (Item) หรือต ัวแปร จำ�นวน n สิ่งให้อ ยู่เป็นกล ุ่ม ๆ ตั้งแต่ 2 กลุ่มข ึ้นไป Case ที่อ ยู่ก ลุ่ม
เดียวกันจะม ีล ักษณะค ล้ายกัน (Similarity) หรือม ีระยะห่าง (Distance) กันน ้อยท ี่สุด ส่วน Case ที่อยู่ต ่าง
กลุ่มก ันจ ะมีล ักษณะท ี่แ ตกต่างก ันห รือมีระยะห่างกันมากที่สุด นอกจากน ี้ Case ใด Case หนึ่ง จะต ้องอยู่
ในก ลุ่มใดก ลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียวเท่านั้น โดยเทคนิคน ี้ใช้ในกรณีที่ย ังไม่ทราบว่ามีท ั้งหมดก ี่กลุ่ม เพื่อสร้าง
สมการจำ�แนกกลุ่ม Cluster Analysis มีชื่อเรียกอ ื่นอีก เช่น data clustering, automatic classification,
numerical taxonomy, botryology, typological analysis การว ิเคราะห์จ ัดก ลุ่มใช้ในห ลายส าขาว ิชา เช่น
data mining, pattern recognition, image analysis
ตัวอย่างงานว ิจัย การแ บ่งกลุ่มจังหวัดต ามตัวชี้วัดภ าวะเศรษฐกิจและสังคมในภาคต ะวันออกเฉียง
เหนือ (วร าลักษณ์ มะลิซ้อน. 2548)
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งกลุ่มจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้ข้อมูล
ทตุ ยิ ภ ูมดิ ้านเศรษฐกจิ แ ละส งั คม ด้วยเทคนคิ ก ารว เิ คราะหจ์ ดั ก ลุม่ (Cluster Analysis) พรอ้ มท ั้งส รา้ งส มการ
จำ�แนกกลุ่มจังหวัดด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ด ิสคร ิม ิแนนต์ (Discriminant Analysis) เมื่อแบ่งกลุ่มจ ังหวัด
โดยใช้ต ัวแปรด ้านเศรษฐกิจแ ละส ังคมในเบื้องต ้น พบว ่าจ ังหวัดน ครราชสีมาแ ละจ ังหวัดข อนแก่น มีล ักษณะ
ทางด ้านเศรษฐกิจแ ละส ังคมท ี่เจริญม าก ซึ่งแ ตกต่างจ ากจ ังหวัดอื่น จึงจ ัดเป็นกลุ่มจังหวัดท ี่จ ัดแล้ว 1 กลุ่ม
ดังนั้น จึงท ำ�การวิเคราะห์จ ัดก ลุ่ม 17 จังหวัด
ผลการวิจัยพ บว่า การแ บ่งก ลุ่มจังหวัดโดยใช้ต ัวแปรด ้านเศรษฐกิจและสังคม 25 ตัวแปร สามารถ
แบ่งก ลุ่มจังหวัดได้ 3 กลุ่มด้วยว ิธี Ward ดังนี้ กลุ่มที่ 1 มีสมาชิกจ ำ�นวน 5 จังหวัด ป ระกอบด้วย จังหวัด
หนองบัวลำ�ภู อำ�นาจเจริญ มุกดาหาร นครพนม และจังหวัดย โสธร กลุ่มที่ 2 มีสมาชิกจ ำ�นวน 10 จังหวัด
ประกอบด ้วย จังหวัดหนองคาย เลย สกลนคร มหาสารคาม ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ สุรินทร์ และ
จังหวัดศ รีสะเกษ กลุ่มท ี่ 3 มสี มาชิกจ ำ�นวน 2 จังหวัด ป ระกอบด ้วย จังหวัด อุดรธานี และจ ังหวัดอ ุบลราชธานี
พร้อมทั้งสร้างสมการจำ�แนกกลุ่ม (Fisher’s Linear discriminant Aalysis) โดยว ิธีคัดเลือกต ัวแปร แบบ
Stepwise ได้ดังนี้
Y1 = 0.005773ECO_1 + 0.00672ECO_7 + 10.769SOCI_17 — 664.800
Y2 = 0.003866ECO_1 + 0.003761ECO_7 + 8.661SOCI_17 — 395.886
Y3 = 0.00528ECO_1 + 0.00351ECO_7 + 9.940SOCI_17 — 532.817
โดยสมการจำ�แนกก ลุ่มนี้ สามารถทำ�นายกลุ่มได้ถ ูกต ้อง 100%
การวเิ คราะห์ความแปรปรวนพ หุ (Multivariate Analysis of Variance: MANOVA)
การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุ เป็นเทคนิคทางสถิติสำ�หรับวิเคราะห์ผลของตัวแปรต้นซึ่งเป็น
ตัวแปรจัดประเภท (นันเมตริก) ที่มีต่อตัวแปรตามหลายตัวซึ่งเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ (เมตริก) หรือคือ
การวิเคราะห์ค วามแปรปรวนท ี่ม ีตัวแปรตามตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป