Page 77 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 77

การ​วิเคราะห์แ​ ละก​ าร​แปลผ​ ลข​ ้อมูล 11-67

       ตัวอย่าง​เช่น นัก​วิจัย​ซึ่ง​เป็น​พนักงาน​ของ​ธนาคาร ธน​ชาติ จำ�กัด (มหาชน) ต้องการท​ ราบ​ว่า​ลูกค้า​
ที่​ตัดสิน​ใจ​เลือก​ใช้​บริการ​ของ​ธนาคาร ธน​ชาติ จำ�กัด (มหาชน) เนื่องจาก​ปัจจัย​ใด​บ้าง จึง​ดำ�เนิน​การ​สร้าง​
แบบสอบถาม​ที่​มี​ลักษณะ​เป็น​มาตร​ประมาณ​ค่า 5 ระดับ ประเด็น​คำ�ถาม​ประกอบ​ด้วย​คุณลักษณะ​ต่าง ๆ
ของธ​ นช​ าติ จำ�กัด (มหาชน) ที่ค​ าดว​ ่า​จะเ​ป็นป​ ัจจัย​ที่ท​ ำ�ให้ล​ ูกค้า​ตัดสินใ​จเ​ลือกใ​ช้บ​ ริการ​ของธ​ นาคาร ธนช​ าติ
จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 33 ข้อค​ ำ�ถาม แล้วน​ ำ�​แบบสอบถามท​ ี่ผ​ ่านก​ ารต​ รวจส​ อบค​ ุณภาพแ​ ล้วไปเ​ก็บข​ ้อมูลก​ ับ​
ลูกค้า​ของธ​ นาคารธ​ นช​ าติ จำ�กัด (มหาชน) 5 สาขา สาขาล​ ะ 80 คน รวม 400 คน แล้ว​นำ�​ข้อมูล​ที่​ได้ม​ าว​ ิเคราะห​์
องคป​์ ระกอบเ​ชงิ ส​ �ำ รวจด​ ว้ ยโ​ปรแกรม SPSS ไดป​้ จั จยั ท​ ที​่ �ำ ใหล​้ กู คา้ ต​ ดั สนิ ใ​จเ​ลอื กใ​ชบ​้ รกิ ารข​ องธ​ นาคารธนช​ าติ
จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 7 ปัจจัย​ได้แก่ (1) คุณภาพ​การ​บริการ​ของ​ธนาคาร (2) ระบบ​สิน​เชื่อ​ที่​ดี (3) การ​
ประชาสัมพันธ์​และ​ภาพ​ลักษณ์​ที่​ดี (4) บริการ​พิเศษ สถาน​ที่ และ​อัตรา​ผล​ตอบแทน (5) ความ​สะดวก​และ​
ความน​ ่า​เชื่อถ​ ือ (6) อัตราค​ ่า​ธรรมเนียมต​ ํ่า และ (7) บุคลากร​ให้​บริการด​ ี (หนึ่งฤ​ ทัย รักเ​ที่ยง. 2552)

       ขั้นต​ อนก​ ารว​ ิเคราะห์อ​ งค์​ประกอบ​เชิงส​ ำ�รวจ
       1.	 เก็บ​ข้อมูล​และ​สร้าง​เมตริก​สห​สัมพันธ์ เพื่อ​หาความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแปร​ที่​นำ�​มา​วิ​เค​ระห์​
องค์​ประกอบ
       2. 	 การส​ กัดอ​ งคป์​ ระกอบ คอื ก​ ารค​ น้ หาจ​ �ำ นวนอ​ งคป​์ ระกอบท​ ีม​่ คี​ วามส​ ามารถเ​พยี งพ​ อใ​นก​ ารอ​ ธบิ าย​
ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแปร​เหล่า​นั้น กฎ​ที่​ดี​ที่​นิยม​ใช้​สำ�หรับ​การ​กำ�หนด​จำ�นวน​องค์​ประกอบ​คือ “Eigen-
value > 1”
       3.	 เลือก​วิธี​การ​หมุน​แกน เป็นการ​ทำ�ให้​ตัวแปร​บาง​ตัว​ที่​เดิม​เป็น​สมาชิก​หลาย​องค์​ประกอบ​กลาย​
เป็นส​ มาชิก​ของอ​ งค์​ประกอบใ​ดอ​ งค์ป​ ระกอบ​หนึ่งอ​ ย่างเ​ด่นช​ ัด เรียก​ว่า simple structure ซึ่ง​มี​อยู่ 2 วิธีค​ ือ
วิธีก​ าร​หมุน​แกน​แบบม​ ุมฉาก และก​ ารห​ มุนแ​ กน​แบบ​มุม​แหลม
       4. 	 เลือก​ค่า loading เพื่อ​ระบุ​ว่า​ตัวแปร​ใด​ควร​จะ​อยู่​ใน​องค์​ประกอบ​ใด โดย​พิจารณา​จาก​ค่า
Loading ของต​ ัวแปร​ต่าง ๆ ว่าม​ ีค​ ่าม​ ากท​ ี่สุดอ​ ยู่ท​ ี่อ​ งค์ป​ ระกอบ​ใด ก็จ​ ัดใ​ห้​อยู่ใ​นอ​ งค์​ประกอบ​นั้น แต่​มีข​ ้อแม​้
ว่าค​ ่า Loading ควรจ​ ะ​มี​ค่าต​ ั้งแต่ .3 ขึ้นไ​ป (เมื่อ​กลุ่มต​ ัวอย่าง​ตั้งแต่ 350) (Hair & others. 2010: 117)
       5. 	 ตั้ง​ชื่ออ​ งค์​ประกอบ​ที่​วิเคราะห์​ได้ ซึ่ง​มี​กฎ​ใน​การ​ตั้ง​ชื่อ คือ สั้น อาจต​ ั้งช​ ื่อเ​พียง 1-2 คำ� มีค​ วาม​
หมายส​ อดคลอ้ งก​ บั โ​ครงสรา้ งข​ องอ​ งคป​์ ระกอบ กลา่ วค​ อื น​ กั ว​ จิ ยั อ​ าจต​ ัง้ ช​ ือ่ ต​ ามค​ วามค​ ล้ายคลึงก​ นั ข​ องต​ วั แปร​
ที่​อยู่​ใน​องค์ป​ ระกอบ หรือต​ าม​โครงสร้าง​ของท​ ฤษฎี​ที่ผ​ ู้​วิจัย​ได้ศ​ ึกษาม​ า
       ความเ​ขา้ ใจค​ ลาด​เคลอื่ นใ​น​การว​ เิ คราะหอ​์ งค์​ประกอบเ​ชิง​ส�ำ รวจ (Muijs. 2011: 223)
       1. 	 ใน​การ​วิเคราะห์อ​ งค์​ประกอบ จำ�นวนอ​ งค์ป​ ระกอบต​ ัดสิน​จาก​จำ�นวน​องค์​ประกอบท​ ี่ม​ ีค​ ่าไ​อ​เกน
(eigenvalues) มากกว่า 1 ใช่ห​ รือ​ไม่
       ตอบ ไม่​จำ�เป็น นัก​วิจัย​สามารถ​ใช้​เกณฑ์​อื่น​ใน​การ​ตัดสิน​จำ�นวน​องค์​ประกอบ เช่น​ พิจารณา​จาก
scree plot จำ�นวน​องค์ป​ ระกอบ​เชิงท​ ฤษฎี หรือพ​ ิจารณา​ตามค​ วาม​เหมาะส​ ม​ของ​ข้อมูล
       2. 	 จำ�นวน​องค์ป​ ระกอบ​ที่โ​ปรแกรม SPSS ให้​คือส​ ิ่ง​ที่เ​ราต​ ้อง​ใช้ เพราะ​ถูกต​ ้องห​ รือ​ไม่
       ตอบ ไม่​จำ�เป็น จำ�นวน​องค์​ประกอบ​สำ�คัญ​ที่​ได้​จาก​การ​วิเคราะห์​อาจ​จะ​แปล​ความ​หมาย​ได้​หรือ​
แปล​ความ​หมาย​ไม่​ได้​ก็ได้ ถ้า​แปล​ความ​หมาย​ไม่​ได้​นัก​วิจัย​ก็​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​รับ​องค์​ประกอบ​ที่​ได้​จาก​ผล​การ​
วิเคราะห์​นั้น
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82