Page 75 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 75

การ​วิเคราะห์​และก​ ารแ​ ปล​ผล​ข้อมูล 11-65

       จาก​ตาราง​ที่ 11.20 พบ​ว่า ผล​การ​ดำ�เนิน​งาน​วิชาการ 3 ด้าน อธิบาย​ความ​แปรปรวน​ของ​คะแนน
NT (NTSCORE) ของ​นักเรียน​ได้​ร้อย​ละ 51.90 (R2 = .519) เรียง​ตาม​ลำ�ดับ​ความ​สำ�คัญ​คือ ด้าน​การ​วัด
ผล​ประเมิน​ผล​และ​เทียบ​โอน​ผล​การ​เรียน (EVA) ด้าน​การ​วิจัย​เพื่อ​พัฒนา​คุณภาพ​การ​ศึกษา (RESEAR)
และด​ ้านก​ ารพ​ ัฒนาก​ ระบวนการเ​รียนร​ ู้ (PROCESS) โดยม​ คี​ ่าส​ ัมประสิทธิถ์​ ดถอยม​ าตรฐานเ​ท่ากับ .338 .297
และ .254 ตามล​ ำ�ดับ มี​นัย​สำ�คัญ​ทางส​ ถิติ​ที่​ระดับ .01 ทุก​ตัว

       ตัวอย่างง​ านว​ ิจัย เรื่อง ภาวะผ​ ู้นำ�​ทางว​ ิชาการท​ ี่ม​ ีผ​ ลต​ ่อป​ ระสิทธิผลข​ องโ​รงเรียน สังกัดส​ ำ�นักงานเ​ขต​
พื้นที่ก​ าร​ศึกษาข​ อนแก่น เขต 1 (ชฎา​กาญจ​ น์ เจริญช​ นม์. 2553) มีว​ ัตถุประสงค์เ​พื่อศ​ ึกษา​ปัจจัย​ภาวะ​ผู้นำ�​
ทาง​วิชาการ​ของผ​ ู้บ​ ริหาร​สถาน​ศึกษาท​ ี่ส่งผ​ ลต​ ่อป​ ระสิทธิผล​ของ​โรงเรียน กลุ่มต​ ัวอย่างท​ ี่ใ​ช้​ในก​ าร​ศึกษา คือ
ผูบ้​ ริหารโ​รงเรียน จำ�นวน 155 คน และค​ รผู​ ูส้​ อน จำ�นวน 345 คน รวม 500 คน ในส​ ำ�นักงานเ​ขตพ​ ื้นทีก่​ ารศ​ ึกษา​
ขอนแก่น เขต 1 ภาวะผ​ ู้นำ�​ทาง​วิชาการ​ที่​เป็นต​ ัวแปรต​ ้น ประกอบด​ ้วย 3 ด้าน คือ (1) การจ​ ัดการ​ด้านก​ าร​เรียน​
การส​ อน (2) การ​ส่งเ​สริม​บรรยากาศท​ างว​ ิชาการข​ อง​โรงเรียน (3) การบ​ ริหาร​งานด​ ้าน​วิชาการ

       เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ใน​การ​ศึกษา​เป็น​แบบสอบถาม​ที่​ผู้​ศึกษา​สร้าง​และ​พัฒนา​ขึ้น​ตาม​แนว​คิด​และ​ทฤษฎี​
ต่าง ๆ เกี่ยว​กับ​ภาวะผ​ ู้นำ�​ทาง​วิชาการ​ของ​ผู้​บริหารส​ ถานศ​ ึกษา การ​วิเคราะห์ข​ ้อมูลใ​ช้โ​ปรแกรม​คอมพิวเตอร์​
สำ�เร็จรูป ค่า​สถิติท​ ี่ใ​ช้​คือ ค่า​ร้อยล​ ะ ค่าเ​ฉลี่ย (X) ค่าเ​บี่ยงเ​บนม​ าตรฐาน (S.D.) ค่า​สัมประสิทธิ์​สหส​ ัมพันธ์​
พหุคูณแ​ ละส​ มการถ​ ดถอย​พหุคูณ​แบบ​ขั้นต​ อน

       ผลก​ ารศ​ ึกษาส​ รุปไ​ด้ว​ ่าป​ ัจจัยท​ ี่ท​ ำ�นายป​ ระสิทธิผลข​ องโ​รงเรียน คือ ด้านก​ ารส​ ่งเ​สริมบ​ รรยากาศท​ าง​
วิชาการ​ของโ​รงเรียน (X3) ด้านก​ ารบ​ ริหารง​ าน​ด้าน​วิชาการ (X2) และด​ ้าน​การจ​ ัดการด​ ้าน​การเ​รียนก​ ารส​ อน
(X1) ซึ่งม​ ีน​ ัย​สำ�คัญท​ างส​ ถิติท​ ี่​ระดับ .001 เขียนส​ มการ​ทำ�นาย​ใน​รูปค​ ะแนน​ดิบ (Unstandardized Score)
ได้​ดังนี้ Y^ = 0.849 + 0.107X1+ 0.362X2 + 0.243X3 (R2 = 0.687)

       ความ​เขา้ ใจ​คลาด​เคลอ่ื นใ​นก​ าร​วิเคราะห​ถ์ ดถอย (Muijs. 2011: 171-2)
       1. 	 regression model fit กับ​ข้อมูล​ดี หมายความ​ว่า​ตัวแปร​ทำ�นาย​เป็น​สาเหตุ​ของ​ตัวแปร​ต้น
ใช่ห​ รือ​ไม่
       ตอบ 	ไม่ การ​วิเคราะห์​ถดถอย​ใช้​วิธี​การ​หาความ​สัมพันธ์ ซึ่ง​ความ​สัมพันธ์​ไม่​ได้​แสดง​ความ​เป็น​
สาเหตุ การ​แสดง​ความ​เป็นส​ าเหตุม​ าจ​ าก​ทฤษฎี
       2. 	ถ้า​ตัวแปร​ตาม​ไม่​ได้​เป็น​ตัวแปร​ต่อ​เนื่อง​ก็​สามารถ​วิเคราะห์​ถดถอย​ได้​โดย​แปลง​ค่า​ของ​ตัวแปร​
ตาม​เป็นต​ ัวแปรห​ ุ่น (Dummy Variables) ใช่​หรือ​ไม่
       ตอบ	 ไม่ เรา​สามารถ​แปลง​ค่าข​ อง​ตัวแปร​ให้เ​ป็น​ตัวแปร​หุ่นเ​ฉพาะ​ตัวแปร​ทำ�นาย​เท่านั้น ถ้า​ตัวแปร​
ตาม​ไม่ไ​ด้​เป็น​ตัวแปร​ต่อ​เนื่องต​ ้อง​ใช้ Logistic regression
       3.	 การ​วิเคราะห์​ถดถอย​เชิง​เส้น ตัวแปร​ที่​มี​ค่า​สัมประสิทธิ์​ถดถอย​สูง​ที่สุด​เป็น​ตัวแปร​ทำ�นาย​ที่​มี​
ความ​สัมพันธ์​กับ​ตัวแปร​ตาม​มาก​ที่สุด ใช่ห​ รือไ​ม่
       ตอบ ค่าส​ ัมประสิทธิ์ถ​ ดถอยบ​ อก​เพียง​ว่า เมื่อ​ตัวแปรท​ ำ�นาย​มี​ค่าเ​ปลี่ยนไ​ป​หนึ่ง​หน่วย ตัวแปรต​ าม​
จะเ​ปลี่ยนไ​ปก​ ี่ห​ น่วย เพราะว​ ่าต​ ัวแปรท​ ำ�นายก​ ับต​ ัวแปรต​ ามม​ ักม​ ีส​ เกลก​ ารว​ ัดแ​ ตกต​ ่างก​ ัน (เช่น 4 5 7 9 ระดับ)
เราไ​ม่ส​ ามา​รถ​พูด​โดย​ใช้​ค่า B แปลค​ วาม​หมาย​ว่าค​ ่า​ความ​สัมพันธ์ม​ าก หากต​ ้องการแ​ ปลค​ วาม​หมายเ​ช่นน​ ั้น​
ควร​ใช้ค​ ่าม​ าตรฐาน (ค่า Beta)
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80