Page 70 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 70

11-60 การวิจัยการบริหารการศึกษา

ตารางท​ ่ี 11.19 ค่า​สัมประสทิ ธ​์สิ หส​ ัมพนั ธร​์ ะหว่าง คะแนน NT กบั ผลก​ าร​ด�ำ เนนิ ​งานว​ ิชาการร​ าย​ดา้ น และ​ภาพร​ วม

                                                           คะแนน NT

                ผลการดำ�เนินงานวชิ าการ           คา่ สมั ประสิทธ์ิ  ระดบั ความสัมพนั ธ์
                                                   สหสัมพันธ์
ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (PROCESS)
ด้านการวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน (EVA)  0.570**            ปานกลาง
ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา (RESAER)
ภาพรวม (RESULT)                                   0.639**            ปานกลาง

       ** p<.01                                   0.533**            ปานกลาง

                                                  0.717**            สูง

       จากต​ ารางท​ ี่ 11.19 พบ​ว่า คะแนน NT มี​ความส​ ัมพันธ์​ทาง​บวกก​ ับผ​ ล​การ​ดำ�เนิน​งานว​ ิชาการ ด้าน​
การ​พัฒนา​กระบวนการ​เรียน​รู้ (PROCESS) ด้าน​การ​วัดผล​ประเมิน​ผล​และ​เทียบ​โอน​ผล​การ​เรียน (EVA)
ด้านก​ ารว​ ิจัยเ​พื่อพ​ ัฒนาค​ ุณภาพก​ ารศ​ ึกษา (RESAER) ใน​ระดับป​ านก​ ลาง มีค​ ่าส​ ัมประสิทธิ์ส​ หส​ ัมพันธ์เ​ท่าก​ ับ
0.570 0.639 และ 0.533 ตามล​ ำ�ดับ ส่วน​ผลก​ าร​ดำ�เนิน​งาน​วิชาการใ​น​ภาพร​ วม (RESULT) มีค​ วาม​สัมพันธ​์
ทางบ​ วกก​ ับค​ ะแนน NT ในร​ ะดับ​สูงม​ ี​ค่าส​ ัมประสิทธิ์ส​ ห​สัมพันธ์เ​ท่า​กับ 0.717

2. การ​วิเคราะหก​์ ารถ​ ดถอย (Regression analysis)

       การ​วิเคราะห์​การ​ถดถอย เป็น​เทคนิค​ทาง​สถิติ​เพื่อ​ใช้​อธิบาย​ความ​สัมพันธ์ หรือ​พยากรณ์​ตัวแปร​
ตาม​เชิง​ปริมาณ (metric dependent variables) หนึ่ง​ตัว จาก​ตัวแปร​อิสระ (independent variables)
เชิง​ประมาณ หรือ​ตัวแปร​ที่​ไม่ใช่​เชิง​ปริมาณ โดย​เขียน​ออก​มา​ใน​รูป​ของ​สมการ​ความ​สัมพันธ์​เชิง​เส้น​ตรง
เรียก​ว่า​สมการ​ถดถอย และเ​ส้น​ตรงน​ ั้น​เรียกว​ ่า​เส้น​ถดถอย

       2.1	 ลักษณะ​คำ�ถาม​วิจัย จะ​เกี่ยว​กับ​การ​ศึกษา​อิทธิพล​ของ​ตัวแปร​ต้น​เชิง​ปริมาณ หรือ​ตัวแปร​จัด​
ประเภท ตัว​เดียว​หรือ​หลาย​ตัว ต่อ​ตัวแปร​ตาม​เชิง​ปริมาณ​หนึ่ง​ตัว โดย​ศึกษา​ถึง​ขนาด​ของ​อิทธิพล ทิศทาง
เปรียบ​เทียบอ​ ิทธิพล​ของต​ ัวแปร​ต้น (กรณี​มีต​ ัวแปร​ต้น​หลายต​ ัว) และ​ศึกษา​ร้อย​ละ​ของ​ความแ​ ปรปรวน​ของ​
ตัวแปรต​ าม​ที่​อธิบายไ​ด้ด​ ้วยต​ ัวแปร​ต้นเ​หล่า​นั้น เช่น

       ปัจจัย​ภาวะ​ผู้นำ�​การ​เปลี่ยนแปลง 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน​การ​สร้าง​บารมี การ​สร้าง​แรง​บันดาล​ใจ
การกร​ ะต​ นุ​้ การใ​ชส​้ ตป​ิ ญั ญา และก​ ารม​ ุง่ ค​ วามส​ มั พนั ธเ​์ ปน็ ร​ ายบ​ คุ คล มอ​ี ทิ ธพิ ลต​ อ่ ป​ ระสทิ ธภิ าพก​ ารบรหิ ารง​ าน​
ตามบ​ ทบาทข​ องผ​ บู​้ ริหาร โดยใ​ชโ​้ รงเรียนเ​ป็นฐ​ านม​ ากน​ อ้ ยเ​พียงใ​ด ปจั จยั ด​ า้ นใ​ดม​ อี​ ทิ ธิพลส​ ูง และม​ รี​ ปู ส​ มการ​
พยากรณ์​เป็น​อย่างไร ปัจจัย​ทั้ง 4 อธิบาย​ความ​แปรปรวน​ของ​ประสิทธิภาพ​การ​บริหาร​งาน​ตาม​บทบาท​ของ
​ผู้​บริหาร โดยใ​ช้โ​รงเรียน​เป็นฐ​ านไ​ด้ร​ ้อยล​ ะ​เท่าไร
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75