Page 76 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 76

11-66 การวิจัยการบริหารการศึกษา

       4. 	 ถ้าโ​มเดลท​ ำ�นายต​ ัวแปรต​ ามไ​ดด้​ ี ค่าส​ ัมประสิทธิร์​ ะหว่างต​ ัวแปรท​ ำ�นายก​ ับต​ ัวแปรต​ ามจ​ ะส​ ะท้อน​
ความส​ ัมพันธ์​ได้​อย่าง​ถูกต​ ้อง

       ตอบ ไมจ่​ ำ�เป็น การถ​ ดถอยส​ ามารถว​ ัดว​ ่าเ​ราใ​สต่​ ัวแปรอ​ ะไรเ​ข้าไป ถ้าเ​ราใ​สต่​ ัวแปรอ​ ื่นเ​ข้าไปใ​นโ​มเดล
(นอก​เหนือ​จาก​ที่​ใส่​ตอน​นี้) ค่า​สัมประสิทธิ์​ระหว่าง​ตัวแปร​ทำ�นาย​กับ​ตัวแปร​ตาม​ใน​โมเดล​จะ​เปลี่ยนแปลง​
อย่างแ​ น่นอน

       5. 	 ถ้า​ค่า Tolerance เท่ากับ 0 นั่นห​ มายความว​ ่า​จะ​ไม่มีภ​ าวะ​ร่วมเ​ส้น​ตรง​พหุ ใช่ห​ รือ​ไม่
       ตอบ ไม่ การ​ที่ค​ ่า Tolerance เท่ากับ 0 หมายความ​ว่า​ความแ​ ปรปรวน​ทั้งหมด​ใน​ตัวแปร​ตามอ​ ธิบาย​
ได้ด​ ้วย​ตัวแปร​ทำ�นายอ​ ื่น
       6. 	 ตัวแปรท​ ำ�นายว​ ัดใ​น​มาตราน​ าม​บัญญัติ หรือเ​รียงอ​ ันดับ เรา​สามารถ​ใช้ค​ ่า Pseudo R Square
เพื่อบ​ อกร​ ้อยล​ ะข​ องค​ วามแ​ ปรปรวนใ​ช่ห​ รือ​ไม่
       ตอบ ไม่ เนื่องจาก​ไม่​สามารถ​แปล​ความ​หมาย​ค่า Pseudo R Square ใน​รูป​ร้อย​ละ​ของ​ความ​
แปรปรวน​ที่​อธิบาย​ได้

เรอื่ ง​ท่ี 11.1.5 สถิติข​ ัน้ ​สงู ท​ ค​ี่ วรร​ ู้

       สถิตขิ​ ั้นส​ ูงท​ ีค่​ วรร​ ู้ ประกอบด​ ้วย การว​ ิเคราะหอ์​ งคป์​ ระกอบ (Factor analysis) การว​ ิเคราะหจ์​ ัดก​ ลุ่ม
(Cluster Analysis) MANOVA, MANCOVA และก​ ารว​ ิเคราะห์อ​ ิทธิพลเ​ชิงส​ าเหตุ (Path Analysis)

การว​ เิ คราะหอ​์ งค์​ประกอบ (Factor analysis)

       การ​วิเคราะห์​องค์​ประกอบ​เป็น​วิธี​การ​ทาง​สถิติ​ที่​ช่วย​ให้​นัก​วิจัย​สร้าง​องค์​ประกอบ​จาก​ตัวแปร
ห​ ลาย ๆ ตวั โดยร​ วมก​ ลุม่ ต​ วั แปรท​ เี​่ กีย่ วขอ้ งส​ มั พนั ธก​์ นั เปน็ อ​ งคป​์ ระกอบเ​ดยี วกนั ตวั แปรท​ อี​่ ยใู​่ นอ​ งคป​์ ระกอบ​
เดยี วกนั จะม​ ค​ี วามส​ มั พนั ธก​์ นั ม​ าก โดยค​ วามส​ มั พนั ธอ​์ าจเ​ปน็ ท​ างบ​ วกห​ รอื ท​ างล​ บก​ ไ็ ด้ สว่ นต​ วั แปรท​ อี​่ ยคู​่ นละ​
องค์​ประกอบ​จะ​ไม่มี​ความ​สัมพันธ์ก​ ันห​ รือส​ ัมพันธ์​กันน​ ้อย องค์​ประกอบห​ นึ่ง ๆ จะ​แทน​ตัวแปรแ​ ฝง อัน​เป็น​
คุณลักษณะ​ที่​นัก​วิจัยต​ ้องการ​ศึกษา

       โมเดล​การว​ ิเคราะห์​องค์ป​ ระกอบแ​ บ่งต​ ามว​ ัตถุประสงค์​ของก​ ารว​ ิเคราะห์​องค์ป​ ระกอบ​ได้ส​ องโ​มเดล
คือ การ​วิเคราะห์อ​ งค์ป​ ระกอบ​เชิงส​ ำ�รวจ และก​ าร​วิเคราะห์​องค์​ประกอบเ​ชิงย​ ืนยัน

       1.	 การ​วิเคราะห์​องค์​ประกอบ​เชิง​สำ�รวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) มี​วัตถุประสงค์​
เพื่อ​สำ�รวจ​และ​ระบุ​องค์​ประกอบ​ร่วม​ที่​สามารถ​อธิบาย​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแปร​สังเกต​ได้ ผล​ที่​ได้​คือ
ล​ ด​จำ�นวนต​ ัวแปรส​ ังเกตไ​ด้ โดย​สร้าง​เป็น​ตัวแปร​ใหม่ใ​นร​ ูป​ของ​องค์​ประกอบร​ ่วม
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81