Page 83 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 83

การ​วิเคราะห์​และก​ าร​แปลผ​ ล​ข้อมูล 11-73

เรอื่ งท​ ่ี 11.2.1	 แนวคิดแ​ ละ​หลัก​การ​ในก​ าร​วิเคราะห์​ข้อมูล
		​เชงิ ​คุณภาพ

       โดย​ปกติ​แล้ว​การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ใน​การ​วิจัย​เชิง​คุณภาพ นัก​วิจัย​จะ​เริ่ม​ทำ�การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ไป​
พร้อม ๆ กับก​ ารเ​ก็บ​รวบรวมข​ ้อมูล​และย​ ังท​ ำ�​ต่อ​ไป​หลังก​ าร​เก็บ​รวบรวมข​ ้อมูลส​ ิ้น​สุดล​ ง (สุ​ภางค์ จัน​ทวาน​ ิช.
2543: 11) ทั้งนี้เ​พราะก​ าร​วิจัยล​ ักษณะ​นี้น​ ักว​ ิจัยจ​ ะม​ ี​สมมติฐาน​ชั่วคราว (working hypothesis) เกิดข​ ึ้น​อยู​่
ตลอด​เวลา​อาจ​เริ่ม​ตั้งแต่​ก่อน​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล​ ซึ่ง​นัก​วิจัย​มี​สมมติฐาน​ชั่วคราว​จากประสบการณ์ แนวคิด
ทฤษฎี และ​เอกสารต​ ่าง ๆ ที่ศ​ ึกษา​มา​ก่อน​หน้าน​ ั้น และ​เมื่อ​เริ่ม​เก็บ​รวบรวมข​ ้อมูล สมมติฐาน​ที่​มีอ​ ยู่​แต่​เดิม​
จะถ​ ูกท​ ดสอบด​ ้วยข​ ้อมูลท​ ีเ่​ก็บไ​ด้ ขณะเ​ดียวกันก​ จ็​ ะเ​กิดส​ มมติฐานใ​หมข่​ ึ้นม​ า สมมติฐานท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นเ​หล่าน​ ีจ้​ ะน​ ำ�​
ไป​สู่​การเ​ก็บร​ วบรวมข​ ้อมูล และเ​กิด​คำ�ถาม​ใหม่ ๆ ขึ้นต​ ่อ​ไป ดังน​ ั้น จึงจ​ ำ�เป็นต​ ้อง​วิเคราะห์ข​ ้อมูลไ​ป​พร้อม ๆ
กับก​ ารเ​ก็บ​รวบรวม​ข้อมูล

       การว​ ิจยั เ​ชิงค​ ณุ ภาพเ​ปน็ การว​ ิจัยท​ ีใ​่ ชว​้ ิธก​ี ารอ​ ุปนยั (Inductive approach) เป็น​วธิ กี​ ารแ​ สวงหาค​ วาม​
รู้ โดยว​ ิธีก​ ารอ​ ุปนัยน​ ี้เ​ริ่มต​ ้นจ​ ากก​ ารร​ วบรวมข​ ้อเ​ท็จจ​ ริงท​ ี่​มีอ​ ยู่ใ​นธ​ รรมชาติซ​ ึ่งเ​ป็นข​ ้อเ​ท็จจ​ ริงท​ ี่ม​ ี​อยู่ก​ ่อนแ​ ล้ว
และ​เมื่อ​รวบรวม​ข้อ​เท็จ​จริง​ต่าง ๆ ได้​เพียง​พอ​ก็​สามารถ​สรุป​เป็น​สมมติฐาน หรือ​แนวคิด​ทฤษฎี​ได้​ใน​ที่สุด
วิธกี​ ารน​ ีส้​ วนท​ างก​ ับก​ ารว​ ิจัยเ​ชิงป​ ริมาณท​ ีใ่​ชว้​ ิธกี​ ารน​ ิรนัย (deductive approach) เป็นว​ ิธกี​ ารแ​ สวงหาค​ วามร​ ู้
โดยว​ ิธกี​ ารน​ ิรนัยเ​ริ่มต​ ้นจ​ ากก​ ารม​ สี​ มมติฐานห​ รือห​ ลักก​ ารท​ ฤษฎเี​ป็นกร​ อบแ​ นวคิด แล้วจ​ ึงท​ ำ�การเ​ก็บร​ วบรวม​
ข้อมูลม​ าพ​ ิสูจน์​หลัก​การ​ทฤษฎีน​ ั้น

       ด้วย​หลัก​การ​เช่น​นี้​ทำ�ให้​การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​เชิง​คุณภาพ​ใช้ “หลัก​การ​วิเคราะห์​แบบ​อุปนัย” เป็น​
วิธีก​ าร​หลัก โดย​หลัก​การด​ ังก​ ล่าว​มีห​ ลักก​ าร​สำ�คัญ ดังนี้

หลกั ข​ อง​การว​ เิ คราะหแ​์ บบอ​ ุปนยั (analytic induction)

       การ​วิเคราะห์​แบบ​อุปนัย เป็นการ​สร้าง​ข้อ​สรุป​จาก​ชุด​ของ​ข้อมูล โดย​ข้อ​สรุป​นั้น​มี​ความ​หมาย​
ครอบคลุมแ​ ละ​อธิบายข​ ้อมูล​ชุดน​ ั้น ๆ ได้​ทั้งหมด

       การ​วิเคราะห์​แบบ​อุปนัย​จะ​ต้อง​กระทำ�​ไป​พร้อม ๆ กับ​การ​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล โดย​นัก​วิจัย​อาจ​มี​
แนวคิดเ​บื้องต​ ้นอ​ ยู่​ก่อนแ​ ล้ว​เก็บร​ วบรวม​ข้อมูลต​ าม​แนวคิด​นั้น เมื่อ​ได้ข​ ้อมูลช​ ิ้นแ​ รกม​ า​แล้ว นัก​วิจัย​จะ​ต้อง​
ทำ�การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​และ​สร้าง​สมมติฐาน​ชั่วคราว​ขึ้น หลัง​จาก​นั้น​ก็​ดำ�เนิน​การ​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล​ต่อ​ไป
ถา้ ข​ อ้ มลู ย​ นื ยนั ส​ มมตฐิ านก​ ใ​็ หค​้ งส​ มมตฐิ านน​ ัน้ ไ​ว้ แตถ​่ า้ ข​ อ้ มลู ม​ ค​ี วามแ​ ตกต​ า่ งจ​ ากส​ มมตฐิ านค​ รัง้ แ​ รก นกั ว​ จิ ยั ​
ต้องป​ รับส​ มมติฐานใ​หค้​ รอบคลุมแ​ ละอ​ ธิบายข​ ้อมูลน​ ั้น ๆ หลังจ​ ากน​ ั้นจ​ ึงเ​ก็บร​ วบรวมข​ ้อมูลต​ ่อไ​ปพ​ ร้อม ๆ กับ​
การป​ รับส​ มมติฐาน​จนกว่าจ​ ะไ​ด้ข​ ้อส​ รุปท​ ี่​อธิบาย​ข้อมูล​ชุดน​ ั้น ๆ ได้ท​ ั้งหมด
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88