Page 86 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 86
11-76 การวิจัยการบริหารการศึกษา
1.2 การวิเคราะห์เน้ือหา คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเอกสาร ที่อิงเข้ากับวิธีการเชิงปริมาณ โดยให้
ความห มายต ามส าระท ปี่ รากฏต ามเอกสาร ไมไ่ ดม้ ุง่ ค น้ หาค วามห มายท ลี่ ึกซ ึง้ การว เิ คราะหล์ ักษณะน ี้ ประกอบ
ด้วยก ระบวนการ 3 ขั้นต อน คือ 1) การจ ำ�แนกป ระเภทข องเนื้อหา 2) การก ำ�หนดห น่วยข องเนื้อหาท ี่จ ะแ จงน ับ
และ 3) ดำ�เนินการแ จงนับ ตัวอย่างข องนักวิชาการที่เชื่อในแ นวทางนี้ คือ เบเรลสัน (Berelson. 1952 อ้างถ ึง
ใน สุภ างค์ จันท วาน ิช. 2537: 144) ซึ่งก ล่าวว ่า “การว ิเคราะหเ์นื้อหา คือ เทคนิคก ารว ิจัยท ี่พ ยายามจ ะบ รรยาย
เนื้อหาข องข ้อความห รือเอกสารโดยใชว้ ิธกี ารเชิงป ริมาณอ ย่างม รี ะบบแ ละเน้นส ภาพว ัตถุวิสัย (objectivity)”
ตามความหมายน ี้ การว ิเคราะห์เนื้อหาสามารถน ำ�มาใช้วิเคราะห์ข ้อมูลเชิงค ุณภาพได้ เช่น น ำ�มาใช้วิเคราะห์
ข้อความในเอกสาร บทส นทนา หรือบ ทส ัมภาษณ์ เป็นต้น แต่ท ้ายท ี่สุดค ือก ารท ำ�ให้เนื้อหาเหล่าน ั้นแ สดงออก
มาในรูปของข้อมูลตัวเลข ซึ่งงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ทั่วไป มักจะพบการวิเคราะห์เนื้อหาในลักษณะนี้
เสมอ ๆ ที่พ บม ากค ือก ารนำ�มาใช้ว ิเคราะห์ค ำ�ตอบจ ากค ำ�ถามป ลายเปิดในแ บบสอบถามก ารว ิจัย โดยก ารอ ่าน
จับประเด็นจ ากค ำ�ถามปลายเปิดแ ล้วให้ค วามถี่กับป ระเด็นเหล่านั้น
2. แนวทางทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การวิเคราะห์เนอ้ื หา
ดังที่กล่าวไว้ในเรื่องก่อนหน้านี้ ว่าหลักของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพคือ การวิเคราะห์แบบ
อุปนัย และว ิธีก ารห ลักในก ารว ิเคราะหข์ ้อมูลเชิงค ุณภาพค ือก ารว ิเคราะห์เนื้อหา โดยก ารว ิเคราะห์เนื้อหาย ังม ี
แนวทางส �ำ คญั อกี 2 แนวทาง คอื การว เิ คราะหโ์ ดยก ารจ �ำ แนกช นดิ ข อ้ มลู และการว เิ คราะหโ์ ดยก ารเปรยี บเทยี บ
ข้อมูล ดังรายล ะเอียดต่อไปนี้
2.1 การว เิ คราะห์โดยจ �ำ แนกช นดิ ข ้อมลู (typological analysis) เป็นการว ิเคราะห์ท ี่ม ุ่งจ ำ�แนกข ้อมูล
ออกเป็นช นิด ๆ ซึ่งส ุภางค์ จันทวานิช (2537: 134–137) สรุปก ารจ ำ�แนกข ้อมูลไว้ 2 แบบ คือ
2.1.1 แบบใช้ทฤษฎี เป็นการจำ�แนกชนิดของข้อมูลตามที่ Loftland (1951) เสนอไว้ คือ
จำ�แนกข ้อมูลอ อกเป็น 6 ชนิด คือ 1) การกร ะท ำ� (acts) 2) กิจกรรม (activities) 3) ความห มาย (meaning)
4) ความสัมพันธ์ (relationship) 5) การมีส่วนร่วมในกิจกรรม (participation) และ 6) สภาพสังคม
(setting)
2.1.2 แบบไม่ใช้ทฤษฎี เป็นการจำ�แนกข้อมูลตามความเหมาะสมกับข้อมูลหรือตาม
ประสบการณ์ที่นักวิจัยกำ�หนดขึ้น เช่น จำ�แนกชนิดของข้อมูลตามช่วงเวลา สถานที่ ผู้ให้ข้อมูล หรือวิธีใน
การเก็บร วบรวมข ้อมูล เป็นต้น
2.2 การวเิ คราะห์โดยการเปรียบเทียบขอ้ มูล (comparative analysis) เป็นการวิเคราะห์เชิงเปรียบ
เทียบ โดยนักวิจัยนำ�ข้อมูลตั้งแต่ 2 กรณีขึ้นไปมาเปรียบเทียบกัน โดยการเปรียบเทียบดังกล่าวมุ่งค้นหา
ว่าข ้อมูลน ั้น ๆ มีความเหมือน หรือแตกต่างกันอ ย่างไร เช่น งานว ิจัยเรื่องการว ิเคราะห์ปัจจัยท ี่ส ่งเสริมและ
ปัจจัยท ีเ่ป็นอ ุปสรรคต ่อก ารม สี ่วนร ่วมข องช ุมชนก ับโรงเรียนป ระถมศ ึกษาในเขตป ริมณฑลกรุงเทพมหานคร
(ชูชาติ พ่วงส มจ ิตร์. 2540) ซึ่งศ ึกษาจากสถานศ ึกษา 2 แห่ง ที่มีบริบทใกล้เคียงก ันแต่ช ุมชนเข้ามามีส ่วนร ่วม
ต่างกัน การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยดังกล่าวเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาโดยการเปรียบเทียบให้เห็นความ
เหมือนและค วามแ ตกต่างข องกรณีศึกษา 2 แห่ง ทั้งในเรื่องข องป ระวัติความเป็นมา สถานที่ต ั้ง อายุในการ